กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปียน


“ โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการและสุขอนามัยโรงเรียนบ้านท่า ประจำปี 2562 ”

ตำบลเปียน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางพิมพิศา วงษ์ขจรเลิศเมธา

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการและสุขอนามัยโรงเรียนบ้านท่า ประจำปี 2562

ที่อยู่ ตำบลเปียน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5260-2-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2562 ถึง 30 ตุลาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการและสุขอนามัยโรงเรียนบ้านท่า ประจำปี 2562 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเปียน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการและสุขอนามัยโรงเรียนบ้านท่า ประจำปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการและสุขอนามัยโรงเรียนบ้านท่า ประจำปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเปียน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L5260-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2562 - 30 ตุลาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

คุณภาพชีวิตของเด็กในแต่ละประเทศบ่งบอกถึงความเจริญรุ่งเรืองและการพัฒนาของประเทศนั้น ๆ จึงนับได้ว่าเด็กวัยเรียนเป็นทรัพยากรบุคคลที่สำคัญต่อการพัฒนาประเทศในอนาคต ดังนั้น ภาวะสุขภาพที่ดี ความเป็นอยู่ที่ดีจะเป็นตัวชี้ให้เห็นถึงศักยภาพความเป็นอยู่และเป็นตัวกำหนดอนาคตของประเทศชาติ ถ้าเด็กนักเรียนมีสุขภาพอนามัยไม่สมบูรณ์แข็งแรง มีโรคภัยไข้เจ็บเบียดเบียน หรือขาดสุขนิสัยที่ดีย่อมเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ การพัฒนาสุขภาพอนามัยของนักเรียนจึงเป็นเรื่องสำคัญและถือเป็นปัจจัยพื้นฐานที่จำเป็นในการพัฒนาศักยภาพของคนให้เป็นประชากรที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ และในปัจจุบันนี้ ถึงแม้ว่าความเจริญทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์จะช่วยในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้น การเจ็บป่วยด้วยโรคทางกายลดลง เช่น โรคติดเชื้อต่าง ๆ โรคทางด้านอนามัยแม่เด็ก โรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน เป็นต้น แต่ในขณะเดียวกัน โรคขาดสารอาหารหรือการมีโภชนาการที่ไม่ได้ตามเกณฑ์ ที่อาจก่อให้เกิดปัญหาทางด้านสุขภาพอื่นๆตามมา ยังคงเป็นปัญหาสำคัญที่สามารถพบได้ในเด็กวัยเรียนในท้องถิ่นทุรกันดาร

โรงเรียนบ้านท่ามีจำนวนนักเรียน 122 คน พบ พฤติกรรมการบริโภคของนักเรียน นักเรียนบริโภคอาหารกรุบกรอบ หรืออาหารขยะ ร้อยละ..........
ร้อยละของนักเรียนที่มีภาวะผอมเตี้ย ร้อยละ ....... ร้อยละของผู้ปกครองจัดอาหารเช้าแก่นักเรียน ร้อยละ...

โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน ซึ่งปัญหาโภชนาการดังกล่าวจะส่งผลให้เด็กวัยเรียนมีภูมิต้านทานโรคต่ำ เจ็บป่วยได้ง่าย มีสุขภาพอ่อนแอ ส่งผลให้ขาดเรียนบ่อย ซึ่งส่งผลต่อการเจริญเติบโตในอนาคต ในขณะเดียวกันก็มีผลต่อการพัฒนาประเทศชาติด้วย โรงเรียนบ้านท่า เป็นดรงเรียนที่ตั้งอยู่ในท้องถิ่นทุรกันดา และหนึ่งในภาระหน้าที่ คือ การสอนให้ความรู้แก่เด็กนักเรียนภายใต้ความขาดแคลนปัจจัยสนับสนุนสำคัญหลายประการ ประกอบกับนักเรียนส่วนใหญ่มาจากครอบครัวที่ค่อนข้างยากจน เป็นเหตุให้ขาดความตระหนักในเรื่องของการดูแลสุขภาพของตนเอง นักเรียนส่วนใหญ่มีปัญหาด้านพฤติกรรมสุขภาพค่อนข้างมาก เช่น ด้านการขาดสารอาหารหรือโภชนาการต่ำ ได้แก่ นักเรียนตัวเตี้ย และผอม ด้านสุขภาพช่องปาก การแปรงฟันไม่ถูกวิธี ฟันผุ เหงือกอักเสบ และยังขาดการดูแลสุขภาพตนเองอื่นๆ เช่น การไม่ล้างมือด้วยสบู่การการรับประทานอาหาร เป็นต้น ซึ่งจะต้องเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ด้านโภชนาการ สุขาภิบาลอาหาร และการส่งเสริมสุขภาพ จากนอกชั้นเรียนด้วย และในการดำเนินโครงการในครั้งนี้จะมีการบูรณาการความรู้ และเพื่อเป็นการป้องกันปัญหาสุขภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ปัญหาทางโภชนาการ ที่อาจเกิดขึ้นกับนักเรียนในระยะยาว รวมทั้งยังเป็นการกระตุ้นการส่งเสริม และสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
โรงเรียนบ้านท่า จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการและสุขอนามัย เพื่อให้ความรู้แก่ แกนนำนักเรียน ครูอนามัยโรงเรียน และผู้รับผิดชอบอาหารกลางวันในโรงเรียน ให้มีการกระตุ้นให้นักเรียนปฏิบัติตนด้านการดูแลสุขภาพของตนเองอย่างต่อเนื่อง และเป็นการส่งเสริมสุขภาพชีวิตแก่นักเรียนในถิ่นทุรกันดารและป้องกันปัญหาสุขภาพรุนแรงที่เกิดขึ้นได้ในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้ด้านอาหาร และโภชนาการ สุขาภิบาลอาหาร และการเสริมสร้างสุขภาพอื่นๆ แก่แกนนำนักเรียน ที่รับผิดชอบทางด้านอาหารและโภชนาการของโรงเรียนบ้านท่า
  2. เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการและสุขอนามัยนักเรียนโรงเรียนบ้านท่า

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ฐานการเรียนรู้ด้านโภชนาการ
  2. ประเมินความรู้และพฤติกรรมการบริโภคอาหาร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 120
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียนได้รับความรู้ในด้าน อาหาร โภชนาการ สุขาภิบาลอาหาร และการดูแลสุขอนามัยอื่นๆที่เป็นแบบอย่างที่ดีได้ 2.มีการดำเนินโครงการเพื่อการแก้ไขปัญหาทางด้านโภชนาการและ สุขอนามัยอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นจริงในโรงเรียนบ้านท่า 3.สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ และทำให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการ รวมทั้งสุขอนามัยอื่น ๆ ที่ดีขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ฐานการเรียนรู้ด้านโภชนาการ

วันที่ 29 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
  2. ประชุมชี้แจงคณะครูโรงเรียนบ้านท่าและผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน
  3. จัดกิจกรรมฐานให้ความรู้และฝึกปฏิบัติ เกี่ยวกับอาหาร โภชนาการ  สุขาภิบาลอาหารและการส่งเสริมสุขอนามัยเพื่อแก้ไขและส่งเสริมภาวะโภชนาการและปัญหารด้านสุขอนามัย
  4. แกนนำนักเรียน ครูผู้รับผิดชอบ ดำเนินโครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการ และสุขอนามัยในโรงเรียน
  5. คณะทำงานติดตามประเมินผลโครงการ
  6. สรุปและประเมินผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. นักเรียนได้รับความรู้ในด้านอาหาร โภชนาการ สุขาภิบาลอาหาร และการดูแลสุขภาพอนามัย อื่นๆ และเป็นแบบอย่างที่ดีได้
  2. มีการดำเนินโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาทางด้านโภชาการและสุขอนามัย ที่เกิดขึ้นจริงในโรงเรียนบ้านท่า
  3. สามารนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ และทำให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการ รวมทั้งสุขอนามัยที่ดีขึ้น

 

120 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้ด้านอาหาร และโภชนาการ สุขาภิบาลอาหาร และการเสริมสร้างสุขภาพอื่นๆ แก่แกนนำนักเรียน ที่รับผิดชอบทางด้านอาหารและโภชนาการของโรงเรียนบ้านท่า
ตัวชี้วัด : แกนนำนักเรียน ชั้น ป.4-ป.6 มีความรู้ด้านอาหาร และโภชนาการ สุขาภิบาลอาหาร และการเสริมสร้างสุขภาพอื่น
0.00 0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการและสุขอนามัยนักเรียนโรงเรียนบ้านท่า
ตัวชี้วัด : ครูอนามัยโรงเรียนมีความรู้ด้านการส่งเสริมภาวะโภชนาการและสุขอนามัย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 120
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้ด้านอาหาร และโภชนาการ สุขาภิบาลอาหาร และการเสริมสร้างสุขภาพอื่นๆ แก่แกนนำนักเรียน ที่รับผิดชอบทางด้านอาหารและโภชนาการของโรงเรียนบ้านท่า (2) เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการและสุขอนามัยนักเรียนโรงเรียนบ้านท่า

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ฐานการเรียนรู้ด้านโภชนาการ (2) ประเมินความรู้และพฤติกรรมการบริโภคอาหาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการและสุขอนามัยโรงเรียนบ้านท่า ประจำปี 2562

รหัสโครงการ 62-L5260-2-03 ระยะเวลาโครงการ 1 กันยายน 2562 - 30 ตุลาคม 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

การจัดฐานเรียนรู้การบริโภคและภาวะโภชนาการ เช่น การฝึกให้วัดภาวะดัชนีมวลกาย การฝึกให้ดูฉลากโภชนาการด้านอาหารและปรับประยุกต์ในวิชาวิทยาศาสตร์และสุขภาพ การใช้สมุนไพรเพื่อฆ่าเหาของนักเรียน

รายงานผลการดำเนินโครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการและสุขอนามัยโรงเรียนบ้านท่า ประจำปี 2562

จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

ทบทวนการจัดฐานเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพฤติกรรมนักเรียน
การเชิญผู้ปกครองมาร่วมออกแบบฐานเรียนรู้

แบบประเมินความพึงพอใจโครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการและสุขอนามัยโรงเรียนบ้านท่า ประจำปี 2562

-

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

กิจกรรมเป็นฐานการเรียนรู้ ทั้งหมด 4 ฐาน แบ่งกลุ่มนักเรียนเข้ารับความรู้ในแต่ละฐาน
โดยมีฐานที่ 1 สุขบัญญัติแห่งชาติ
ฐานที่ 2 อาหารขยะที่ไม่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
ฐานที่ 3 อาหารหลัก 5 หมู่
ฐานที่ 4 การออกกำลังกาย

  • ภาพถ่ายกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

เกิดเครือข่ายครอบครัวในการดูแลสุขภาพของตนเองและสมาชิกในครอบครัว
เกิดชมรม อย.น้อยมาร่วมกันเฝ้าระวังอาหารไม่ปลอดภัยในโรงเรียน

สรุปผลโครงการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

1.นักเรียนรู้วิธีการดูแลตนเองในเรื่องสุขอนามัย
2.ผู้ปกครองมีพฤติกรรมด้านสุขภาพ เพิ่มขึ้น

ผลการสำรวจและประเมินความรู้การดูแลสุขภาพก่อนหลัง
การลงเยี่ยมบ้านนักเรียน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

นักเรียนสามารถการเลือกรับประทานอาหาร เช่น ลดการบริโภคขนมกรุบกรอบ กินผักมากขึ้น เป็นต้น

พฤติกรรมการเลือกบริโภคอาหารในโรงเรียน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

การเกิดเครือข่ายครอบครัวต้นแบบด้านการจัดอาหารที่ถูกสุขลักษณะ และจัดอาหารเช้าแก่นักเรียน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

มาตรการโรงเรียนปลอดโฟม

ภาพถ่ายกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

เกิดเครือข่ายโรงเรียน และครอบครัวในการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์

การสังเกต การสอบถาม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

นักเรียนสามารถเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยขน์ได้

การสังเกต การสอบถาม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

ครอบครัวนักเรียนสามารถเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยขน์ได้ และถ่ายทอดความรู้ให้สมาชิกในครอบครัวและเพื่อนบ้านได้อย่างถูกต้อง

การสังเกต การสอบถาม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

เกิดเครือข่ายครอบครัว และเผยแพร่ความรู้ในชุมชน

การสัมภาษณ์

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

เป็นข้อมูลในการจัดทำโครงการในปีการศึกษา 2563

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

นักเรียน ครอบครัว และชุมชนเกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพ และการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์

แบบสัมภาษณ์

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการและสุขอนามัยโรงเรียนบ้านท่า ประจำปี 2562 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5260-2-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพิมพิศา วงษ์ขจรเลิศเมธา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด