กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเทศบาลร่วมใจ ป้องกัน โรคระบาดและภัยพิบัติในพื้นที่ ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ (ส่งเสริม ป้องกันโรคหมอกควันอินโด – มาเลเซีย)
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ เทศบาลตำบลปริก
วันที่อนุมัติ 20 กันยายน 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2562 - 30 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2562
งบประมาณ 60,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ กองสาธารณสุขฯ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ เทศบาลตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.694,100.473place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสุรา , แผนงานสิ่งเสพติด , แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 พ.ค. 2562 30 ก.ย. 2562 60,000.00
2 0.00
3 0.00
รวมงบประมาณ 60,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 636 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

ระบุ

กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 1890 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 75 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ภัยพิบัติ (Disaster) หมายถึง ภัยที่เกิดขึ้นแก่สาธารณชน ได้ อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย สึนามิ หมอกควันอินโด-มาเลเซีย ตลอดจนภัยอื่น ๆ อันเป็นสาธารณะ ไม่ว่าจะเกิดจากธรรมชาติหรือมีผู้กระทำให้เกิดขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายแก่ชีวิตร่างกายของประชาชน หรือความเสียหายแก่ทรัพย์สินของประชาชนหรือของรัฐ (พ.ร.บ. ป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน พ. ศ. 2522) ซึ่งภัยธรรมชาติเป็นส่วนหนึ่งของภัยพิบัติ สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม ระบบเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศต่างๆ ทั่วโลก อันเนื่องมาจากการพัฒนา และกระแสโลกาภิวัตน์ส่งผลให้เกิดการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติอย่างรวดเร็ว และเกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น ทั้งรูปแบบและพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม ทำให้เพิ่มความเสี่ยงต่อสุขภาพ
สืบเนื่องจากสถานการณ์ไฟป่าบริเวณเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ส่งผลให้เกิดคุณภาพอากาศในพื้นที่ภาคใต้ ตั้งแต่วันที่ ๕ กันยายน ๒๕๖๒ เป็นต้นมา พบค่าฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน๒.๕ ไมครอนเฉลี่ย ๒๔ ชั่วโมง พื้นที่อำเภอหาดใหญ่และอำเภอใกล้เคียง อำเภอสะเดา และอำเภออื่นๆ จังหวัดสงขลา มีค่าเกินเกณฑ์มาตรฐาน (๕๐ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร)ทำให้คุณภาพอากาศส่งผลกระทบต่อสุขภาพ และจากสถานการณ์คุณภาพอากาศในพื้นที่ภาคใต้ล่าสุดเมื่อวันที่ที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๖๒ เวลา ๑๓.๐๐น.เป็นต้นมา พบค่าฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอนรายชั่วโมงใกล้เคียงค่า ๑๐๐ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ในพื้นที่จังหวัด สตูล สงขลา และยะลา อาจจะมีแนวโน้มเกินเกณฑ์มาตรฐานเฉลี่ย ๒๔ ชั่วโมง ( ๕๐ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ) (ข้อมูลจากสำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ ๑๖ สงขลา วันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๖๒ ) ดังนั้น เทศบาลตำบลปริกเป็นตำบลเล็กๆที่อยู่ในอำเภอสะเดาซึ่งติดเขตแดน ไทย มาเลเซียมีประชากร ๖,๔๘๙ คน ( ข้อมูลทะเบียนราษฎ์เทศบาลตำบลปริก เดือน สิงหาคม ๒๕๖๒ ) มี ๗ ชุมชน พื้นที่เทศบาลได้รับผลกระทบ จากสถานการณ์ดังกล่าวให้ประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมาย เด็กเล็ก เด็ก เยาวชน หญิงตั้งครรภ์ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ คนพิการ กลุ่มเสียงวัยทำงาน ประชาชนกลุ่มเสี่ยง  ๕,10๐ คนประกอบด้วย เด็กเล็ก ๓ – ๕ ปี จำนวน 636 คน เด็ก ๖-๑4 ปี จำนวน 1,890 คน ประชาชนกลุ่มเสี่ยง 15-59 ปี จำนวน  คน (ข้อมูลทะเบียนราษฎ์เทศบาลตำบลปริก ) หญิงตั้งครรภ์จำนวน 25 คน ผู้ป่วยเรื้อรังจำนวน 366 คน ( ข้อมูลจากการสำรวจ สิงหาคม 2562) ผู้สูงอายุจำนวน  คน (ข้อมูลทะเบียนราษฎ์เทศบาลตำบลปริก ) คนพิการจำนวน 142 คน ซึ่งกลุ่มเป้าหมายต่างๆจะต้องทำกิจวัตรประจำวัน ทั้งภายในและภายนอกบ้าน เพื่อป้องกันการเกิดโรค ผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนจากสถานการณ์หมอกควันดังกล่าว
กองสาธารณสุขเทศบาลตำบลปริก จึงตระหนัก ส่งเสริมการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง และป้องกันการเกิดโรคจากภัยหมอกควัน ดังกล่าวเมื่อเกิดภัยพิบัติและหลังเกิดภัยพิบัติ ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ โดยต้องเตรียมรับมือตั้งแต่ก่อนเกิดภัย ระยะเกิดภัยและหลังเกิดภัย เทศบาลตำบลปริกจึงจำเป็นต้องมีการบริหารจัดการ และเตรียมพร้อมช่วยเหลือประชาชนกลุ่มเสี่ยงเพื่อให้ผู้ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติได้รับการดูแลทั้ง 4 มิติ อย่างครอบคลุมต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 2.1ร้อยละ 80ผู้ประสบภัยพิบัติได้รับช่วยเหลือ บรรเทาปัญหาความเดือดร้อนได้อย่างทันสถานการณ์ 2.2สมาชิกในครอบครัวที่ประสบปัญหาสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ตามอัตภาพ 2.3 ประชาชนที่ได้รับผลกระทบได้รับการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรค การรักษาปฐมภูมิเชิงรุก และการฟื้นฟูสภาพ ตลอดจนด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม ให้เหมาะสมไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนและให้ดำรงชีวิตเป็นอย่างปกติ

1ร้อยละ 80ผู้ประสบภัยพิบัติได้รับช่วยเหลือ บรรเทาปัญหาความเดือดร้อนได้อย่างทันสถานการณ์ 2สมาชิกในครอบครัวที่ประสบปัญหาสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ตามอัตภาพ 3 ประชาชนที่ได้รับผลกระทบได้รับการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรค การรักษาปฐมภูมิเชิงรุก และการฟื้นฟูสภาพ ตลอดจนด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม ให้เหมาะสมไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนและให้ดำรงชีวิตเป็นอย่างปกติ

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 2.1ร้อยละ 80ผู้ประสบภัยพิบัติได้รับช่วยเหลือ บรรเทาปัญหาความเดือดร้อนได้อย่างทันสถานการณ์ 2.2สมาชิกในครอบครัวที่ประสบปัญหาสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ตามอัตภาพ 2.3 ประชาชนที่ได้รับผลกระทบได้รับการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรค การรักษาปฐมภูมิเชิงรุก และการฟื้นฟูสภาพ ตลอดจนด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม ให้เหมาะสมไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนและให้ดำรงชีวิตเป็นอย่างปกติ

รวม 0 0.00 0 0.00

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

  1. ประชุมผู้บริหาร ปลัดเทศบาล ผู้อำนวยการกอง และผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อหาแนวทางช่วยเหลือแก้ปัญหาพื้นที่ ๒. จัดทำบันทึกขออนุมัติจัดซื้อเวชภัณฑ์สารเคมี วัสดุทางการแพทย์และอุปกรณ์อื่นๆที่เกี่ยวข้องและจำเป็นให้แก่ประชาชนที่ประสบภัย ขั้นดำเนินการในระยะเกิดภัย 1.ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนททราบ 2.ดำเนินงานลงพื้นที่ส่งเสริมให้ความรู้ ป้องกันควบคุมโรค และรักษาพยาบาลเชิงรุกให้แจกหน้ากากอนามัย และการปฏิบัติตัว กลุ่มเป้าหมาย ขั้นดำเนินการระยะหลังเกิดภัยพิบัติ 1.ส่งเสริมความรู้ผู้ประสบภัย ในการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง ลดความเครียดจากภาวะที่ได้รับผลกระทบต่อสุขภาพ
    2.ส่งเสริมการปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม 3.ประชุมสรุปผลการดำเนินงานและหาแนวทางการแก้ไข 4.สรุปผลการดำเนินงานเสนอผู้บริหารเทศบาลและนำเสนอต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนฯต่อ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนที่ได้รับผลกระทบได้รับการช่วยเหลือ สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ตามอัตภาพ
  2. ประชาชนที่ได้รับผลกระทบได้รับส่งเสริมและป้องกันควบคุมโรค หรือการช่วยเหลือผลกระทบทางสุขภาพ จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนให้สามารถดำรงชีวิตเป็นอย่างปกติ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 ก.ย. 2562 15:00 น.