กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างความรู้ด้านความปลอดภัยของผู้บริโภคในชุมชน
รหัสโครงการ 2562-L3306-2-20
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ หมู่ที่ 7 บ้านป่าแก่ออก
วันที่อนุมัติ 11 กันยายน 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 20 กันยายน 2562 - 22 ตุลาคม 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2562
งบประมาณ 25,590.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางหยาด นุมหยู
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.349,99.958place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบัน สารเคมีตกค้างในพืช ผัก ปลา ผลไม้ และสิ่งต่างๆ ที่เรารับประทานเข้าไปนั้น สามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์ และสัตว์ กล่าวคือ จะไปทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมอง ผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ และตา ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่า เราจะรับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้ จึงแสดงอาการต่างๆ ขึ้นมา เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือดและระบบภูมิคุ้มกัน เป็นต้น         จากปัญหาดังกล่าว ประชาชนในเขตพื้นที่ของหมู่บ้านป่าแก่ออก ยังคงมีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอยู่ ซึ่งในการนำมาใช้นั้นได้มีการใช้อย่างไม่ถูกวิธีและขาดความรู้ จึงทำให้มีผลกระทบกับด้านสุขภาพโดยตรง ดังนั้น จึงเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรในเขตพื้นที่รับผิดชอบ จึงได้จัดทำโครงการเสริมสร้างความรู้ด้านความปลอดภัยของผู้บริโภคในชุมชน เพื่อส่งเสริมประชาชนให้ได้รับความรู้ผักปลอดสารพิษและปลูกผักปลอดสารพิษในระดับครัวเรือนต่อไปได้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้เรื่องผักปลอดสารพิษและการทำปุ๋ยหมัก

 

0.00
2 เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนในชุมชน สามารถปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชนและระดับครัวเรือนได้

 

0.00
3 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนมีความรักสามัคคี มีความปรองดองซึ่งกันและกัน

 

0.00
4 เพื่อมีศูนย์จำหน่ายตลาดผักปลอดสารพิษ

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 25,590.00 2 25,590.00
24 ก.ย. 62 ประชุมเตรียมความพร้อม ครัวเรือนกลุ่มเป้าหมาย 0 6,000.00 6,000.00
3 - 22 ต.ค. 62 กิจกรรมการปลูกผัก 0 19,590.00 19,590.00
  1. ประชุมเตรียมความพร้อม ครัวเรือนกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 30 ครัวเรือน
    1. กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ และการทำปุ๋ยหมัก
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนได้รับความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ/ทำปุ๋ยหมัก สามารถนำไปทำในครัวเรือนและถ่ายทอด       ต่อไป
    1. โรคที่เกิดจากสารเคมีตกค้างในประชาชนลดลง
    2. มีตลาดนัดผักปลอดสารพิษภายในหมู่บ้าน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 23 ก.ย. 2562 14:51 น.