กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยที่มีหัตถการที่บ้าน ปี 2563
รหัสโครงการ 2563-L6896-01-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลตรัง
วันที่อนุมัติ 25 กันยายน 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2562 -
กำหนดวันส่งรายงาน 15 ตุลาคม 2563
งบประมาณ 38,670.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายแพทย์ไกรสร โตทับเที่ยง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.559,99.616place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 108 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เขตเทศบาลนครตรัง มีผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านโดยสหวิชาชีพ จำนวน 396 คน และมีผู้ป่วยที่มีหัตถการอยู่ 108 หัตถการ (ข้อมูล ณ สิงหาคม 2562) ประกอบด้วย ผู้ป่วยใส่สายยางให้อาหาร 32 คน ใส่ท่อหลอดลมคอ 12 คน ใส่สายสวนปัสสาวะ 27 คน ทำแผล 21 คน มีลำไส้เปิดหน้าท้อง 2 คน ล้างไตทางหน้าท้อง 2 คน และหัตถการอื่นๆอีก 12 คน ซึ่งผู้ป่วยที่มีหัตถการดังกล่าวนี้มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนขึ้นได้ แต่หากได้รับการดูแลที่ดีก็จะสามารถป้องกันภาวะแทรกซ้อน รวมถึงสามารถยุติการทำหัตถการได้ในผู้ป่วยบางราย โดยทั้งนี้สิ่งสำคัญที่สุด คือ ผู้ดูแลจะต้องเป็นผู้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง จากสถิติปี 2562 ที่ผ่านมาผู้ป่วยที่ดูแลนั้น สามารถถอดสายให้อาหารทางจมูกได้ 9 คน ถอดสายสวนปัสสาวะได้ 8 คน แผลกดทับหาย 12 คน

กลุ่มงานการพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลตรัง ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลผู้ป่วยที่มีหัตถการ จึงได้จัดทำ “ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยที่มีหัตถการที่บ้าน ปี 2563” ขึ้น เพื่อให้ผู้ป่วยมีหัตถการต่างๆได้รับการดูแลที่ดีและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการมีหัตการ

ผู้ป่วยที่มีหัตถการทุกคนไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน

0.00
2 เพื่อประเมินข้อบ่งชี้พร้อมทั้งให้การดูแลรักษา ให้ผู้ป่วยสามารถยุติการทำหัตถการต่างๆได้

ร้อยละ 50 ของผู้ป่วยที่มีหัตถการ สามารถยุติการทำหัตถการได้

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 38.00 2 38,647.36
1 ต.ค. 62 - 30 ก.ย. 63 จัดทำทะเบียน / ข้อมูลผู้ป่วยที่มีหัตถการทุกประเภท 0 0.00 0.00
1 ต.ค. 62 - 30 ก.ย. 63 กิจกรรมดูแลส่งเสริมสุขภาพและให้ความรู้แก่ญาติและผู้ป่วยที่มีหัตถการทุกประเภทที่บ้านในชุมชนเป็นรายกรณี 0 38.00 38,647.36
  1. ประชุมทีมงานในการจัดทำโครงการ
  2. จัดทำทะเบียนรายชื่อผู้ป่วยที่มีหัตถการ
  3. วางแผนการดำเนินงานตามแผนงานโครงการ
  4. ปฏิบัติตามแผนงานโครงการ
  5. วิเคราะห์ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน
  6. สรุปผลการดำเนินงาน
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้ป่วยที่มีหัตถการไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
  2. ผู้ป่วยที่มีหัตถการสามารถยุติการทำหัตถการได้
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ต.ค. 2562 10:19 น.