กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ (ปี 2563)
รหัสโครงการ 63-L3331-3-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชนเทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ
วันที่อนุมัติ 20 สิงหาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 21 กันยายน 2563
งบประมาณ 12,340.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายเจษฎา จันทร์อักษร/นางพัชราภรณ์ มีเสน
พี่เลี้ยงโครงการ นางวาลัยพร ด้วงคง
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.451,100.157place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2562 30 ก.ย. 2563 1 ต.ค. 2562 30 ก.ย. 2563 12,340.00
รวมงบประมาณ 12,340.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 680 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันประเทศไทยมีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ คาดว่าในปี 2563 จะมีประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีอยู่ราว 1 ใน 6 ของประชากรทั้งหมด กล่าวตามนิยามของสหประชาชาติ คือ เมื่อประเทศใดมีประชากร อายุ 60 ปีขึ้นไป เกินร้อยละ 10 หรือ ประชากรอายุ 65 ปีขึ้นไป เกินร้อยละ 7 ของประชากรทั้งหมด ถือว่าประเทศนั้นได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบรูณ์ (Aged Society) ประเทศไทยเริ่มเข้าสู้สังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ปี 2547 และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ในปี 2567 หรืออีก 9 ปีข้างหน้า เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุมีผลกระทบต่ออัตราส่วนภาวะพึ่งพิง หรือภาวะโดยรวมที่ ประชากรวัยทำงานจะต้องเลี้ยงประชากรวัยสูงอายุมีจำนวนเพิ่มขึ้น อาจนำไปสู่ปัญหาทางเศรษฐกิจ สังคม รวมถึงปัญหาในด้านสุขภาพของผู้สูงอายุด้วย เนื่องจากผู้สูงอายุได้รับผลกระทบจากการเสื่อมถอยของร่างกายตามวัย รวมทั้งผลของโรคเรื้อรังหรืออุบัติเหตุจึงนำไปสู่ความถดถอยของร่างกาย เกิดภาวะพึ่งพา ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้หรือช่วยเหลือตนเองได้น้อยหรืออาจมีอาการสมองเสื่อม ทำให้ต้องอาศัยพึ่งพาเป็นภาระแก่ผู้ดูแล เกิดภาวะทุพพลภาพในที่สุด สิ่งเหล่านี้ทำให้ผู้สูงอายุดำรงชีวิตอยู่อย่างไม่มีความสุข ผู้สูงอายุจึงควรให้ความสนใจดูแลสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรงมีคุณภาพชีวิตที่ดี ป้องกันการเกิดโรคต่างๆ รวมทั้งฟื้นฟูสุขภาพเมื่อมีภาวะของโรคและควบคุมให้ภาวะของโรคเหล่านั้นมีอาการคงที่ ไม่กำเริบรุนแรงหรือเสื่อมถอยมากกว่าเดิม จะทำให้ผู้สูงอายุมีชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่าสามารถทำประโยชน์ให้แก่สังคม และมีความสุขในปั้นปลายของชีวิต

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุเข้าถึงบริการสุขภาพ โดยได้รับการตรวจประเมินภาวะสุขภาพ และสามารถดูแลตนเองได้ทั้งทางร่างกายและจิตใจ

ผู้สูงอายุได้รับการตรวจประเมินภาวะสุขภาพ ร้อยละ 90

90.00
2 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้การเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาด้านสุขภาพด้วยตนเอง

ผู้สูงอายุมีความรู้ เจตคติ ทักษะและการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการดูแลตนเองได้ถูกต้อง ร้อยละ 80

80.00
3 เพื่อแยกกลุ่มผู้สูงอายุ และเฝ้าระวังสุขภาพผู้สูงอายุ

แบ่งผู้สูงอายุ เป็น 3 กลุ่ม ตาม ADL กลุ่มที่ 1, 2, 3

100.00
4 เพื่อส่งต่อผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพเพื่อเข้ารับการรักษาที่ทันท่วงที

ผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพได้รับการส่งต่อ ร้อยละ 100

100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 800 12,340.00 1 12,340.00
1 ต.ค. 62 - 30 ก.ย. 63 การตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยงตามแบบ (Basic Geriatric Screnning ,BGS)และแบบสำรวจข้อมูลผู้สูงอายุ(LTC9) 800 12,340.00 12,340.00
  1. รวบรวมข้อมูล กำหนดเป้าหมาย และกิจกรรม   2. เขียนโครงการ เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ   3. จัดกิจกรรม 3.1 ประชุมเตรียมโครงการแก่คณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชน,ผู้ปฏิบัติงาน คัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 3.2 ประชุมชี้แจง ผู้ปฏิบัติงาน คัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุในการใช้แบบฟอร์มคัดกรอง (Basic Geriatric Screnning ,BGS)และแบบสำรวจข้อมูลผู้สูงอายุ(LTC9) 3.3 การตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยงตามแบบ (Basic Geriatric Screnning ,BGS)และแบบสำรวจข้อมูลผู้สูงอายุ(LTC9) 3.4 ประชาสัมพันธ์/อบรม/ให้ความรู้ 3.5 ส่งต่อผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพเพื่อรักษาต่อไป
    3.6 การเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพ 3.7 บันทึกข้อมูลและสรุปผลการตรวจคัดกรองประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ
  2. ประเมินและสรุปผลโครงการ 4.1 ผู้สูงอายุได้รับการตรวจประเมินภาวะสุขภาพ ร้อยละ 90
    4.2 ผู้สูงอายุมีความรู้ เจตคติ ทักษะและการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการดูแลตนเองได้ถูกต้อง ร้อยละ 80
    4.3 แบ่งผู้สูงอายุ เป็น 3 กลุ่ม ตาม ADL กลุ่มที่ 1, 2, 3 4.4 ผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพได้รับการส่งต่อ ร้อยละ 100
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุมีความรู้ เจตคติ ทักษะและการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการดูแลตนเองได้ถูกต้อง 2.ผู้สูงอายุมีสุข ร่างกายแข็งแรงไม่ป่วยด้วยโรคหรือได้รับอุบัติเหตุที่เกิดจากการปฏิบัติตนที่ไม่ถูกต้อง
3.ผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพได้รับการส่งต่อเข้ารับการรักษาต่อไปและได้รับการดูแลต่อเนื่อง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 ต.ค. 2562 10:31 น.