กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด
รหัสโครงการ 63-L3308-04-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขาฯกองทุน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด
วันที่อนุมัติ 22 สิงหาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2562
งบประมาณ 85,702.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ สำนักปลัดเทศบาลตำบลชะรัด
พี่เลี้ยงโครงการ นายสุเชษฐ์ คงดำ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.473,99.989place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัดได้จัดตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2551 เพื่อให้ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลชะรัด ได้รับบริการส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพอย่างทั่วถึง และเพื่อสร้างหลักประกันให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ นับเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทยในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชน จากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ และประสานหน่วยงานองค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผนและส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพที่เกี่ยวกับการสร้างสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพื่อให้การปฏิบัติงานด้านส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรคเรื้อรังในชุมชนได้ถูกต้องมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับภารกิจที่ระบุในข้อตกลงการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ กับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ อันจะส่งผลให้เกิดมีส่วนร่วมในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคเรื้องรัง และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต ตลอดจนทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงหลักประกันสุขภาพครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายและทุกพื้นที่ต่อไป และเพื่อให้ประชาชนทุกคนในพื้นที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งด้านร่างกายและจิตใจอย่างยั่งยืน กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 154 77,302.00 9 77,302.00
27 พ.ย. 62 ค่าตอบแทนการประชุมอนุกรรมการฝ่ายวิชาการกองทุน สปสช 4/62 9 2,700.00 2,700.00
27 พ.ย. 62 ค่าอาหารว่างอนุกรรมการฝ่ายวิชาการ 4/62 วันที่ 27 พฤศจิกายน 2562 9 225.00 225.00
24 ธ.ค. 62 ค่าตอบแทนการประชุมอนุกรรมการฝ่ายวิชาการกองทุน สปสช 5/62 9 2,400.00 2,400.00
27 ธ.ค. 62 ค่าตอบแทนการประชุมคณะกรรมการกองทุน สปสช 8/62 25 9,600.00 9,600.00
27 ธ.ค. 62 ค่าอาหารว่างการประชุมอนุกรรมการวิชาการ5/62และอาหารว่าง และอาหารกลางวัน ประชุมกรรมการกองทุน5/62 34 2,100.00 2,100.00
7 ก.พ. 63 ค่าตอบแทนการประชุม อนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1/63 11 3,000.00 3,000.00
7 ก.พ. 63 อาหารว่างและอาหารกลางวัน การประชุมอนุ LTC ครั้งที่ 1/2563 11 825.00 825.00
3 ก.ย. 63 ค่าอาหารว่าง และอาหารกลางวัน การประชุมคณะกรรมการกองทุน ครั้งที่ 1/63 วันที่ 2 กันยายน 2563 21 1,575.00 1,575.00
21 - 22 ก.ย. 63 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพและการจัดทำแผนกองทุน 64 25 54,877.00 54,877.00
2 ก.ย. 63 การประชุมคณะกรรมการกองทุน ครั้งที่ 1/2563 วันที่ 2 กันยายน 2563 21 8,400.00 8,400.00
21 8,400.00 1 8,400.00

วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด) 1. 1.ขั้นตอนวางแผนงาน
        - ร่วมกันประชุมวางแผน กำหนดร่างวาระในการประชุม จำนวนคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ
          และคณะทำงาน
        - กำหนดวันประชุมตลอดปีงบประมาณ 2563 2. 2.ขั้นตอนการดำเนินงาน
        - ติดต่อประสานงานกับคณะกรรมการ เพื่อกำหนดนัดหมาย
        - จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ประกอบการดำเนินงาน
        - จัดเตรียมค่าใช้จ่ายในการประชุม เช่น ค่าตอบแทนกรรมการ อนุกรรมการ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม         - จัดเตรียมสถานที่ในการประชุม 3. 3.ดำเนินการจัดประชุมตามแผนงานและวาระที่กำหนด
4.    - จัดประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษา อย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี
        - จัดประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน อย่างน้อย 2 ครั้ง/ปี
        - สรุปผลการประชุมและมติคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. คณะกรรมการกองทุน ฯ และคณะกรรมการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกองทุนได้มีความรู้ และพัฒนางานกองทุนได้
  2. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
  3. การรับเงินการจ่ายเงินการเก็บรักษาเงินหรือการจัดทำบัญชีเงินเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
  4. มีแผนการดำเนินงานตลอดปีงบประมาณ 2563
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 28 ต.ค. 2562 14:17 น.