กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านกาเนะ ”

ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางอรุนา ตาเดอิน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านกาเนะ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านกาเนะ

ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5307-2-02 เลขที่ข้อตกลง 14/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านกาเนะ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านกาเนะ



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมนักเรียนหญิงระดับชั้นอนุบาลและประถมศึกษาให้ปฏิบัติตนในการกำจัดเหาและป้องกันตนเองไม่ให้เป็นเหา (คน) (2) เพื่อให้นักเรียนระดับชั้นอนุบาลและระดับชั้นประถมศึกษามีสุขภาพในช่องปากที่ดี ไม่เป็นโรคฟันผุ (3) เพื่อให้นักเรียนระดับชั้นอนุบาลและระดับชั้นประถมศึกษารู้จักดูแลสุขภาพมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสมตามเกณฑ์ (4) เพื่อให้นักเรียนระดับชั้นอนุบาลและระดับชั้นประถมศึกษามีสุขนิสัยที่ดีไม่เป็นโรคติดต่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การดูเเลสุขภาพวัยเรียน (2) แปรงฟันหลังอาหารกลางวัน (3) ส่งเสริมสุขนิสัยในการล้างมือ (4) กำจัดเหา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) กิจกรรมการกจัดเหาต้องให้ผู้ปกครองช่วยในการกำจัดนักเรียนด้วย

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การมีสุขภาพดีเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย์และเป็นสิทธิที่จะได้รับการคุ้มครองให้มีสุขภาพดีอันหมายถึงการมีสภาวะความสมบูรณ์แข็งแรงทั้ง ร่างกายจิตใจและปราศจากโรคภัยต่างๆ ตลอดจนการมีชีวิตอยู่ในสังคมอย่างดีด้วยและมีทักษะในการดูแลสุขภาพสามารถดำเนินชีวิตประจำวัน อย่างมีคุณค่าใฝ่เรียนใฝ่รู้อยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคลปรับตัวให้ทันกับการเลี่ยนแปลงของสังคม จากการสำรวจปัญหาสุขภาพของนักเรียนโรงเรียนบ้านกาเนะในวันที่ 4พฤศจิกายน2562นักเรียนหญิงเป็นโรคเหายังเป็นปัญหาของโรงเรียน อยู่ทางโรงเรียนจึงต้องจัดให้มีโครงการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านกาเนะเพื่อแก้ปัญหาที่มีอยู่และส่งเสริมสุขภาพนักเรียนทุกคนให้มีสุขภาพดีเป็นพลเมืองที่มีประสิทธิภาพของประเทศในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมนักเรียนหญิงระดับชั้นอนุบาลและประถมศึกษาให้ปฏิบัติตนในการกำจัดเหาและป้องกันตนเองไม่ให้เป็นเหา (คน)
  2. เพื่อให้นักเรียนระดับชั้นอนุบาลและระดับชั้นประถมศึกษามีสุขภาพในช่องปากที่ดี ไม่เป็นโรคฟันผุ
  3. เพื่อให้นักเรียนระดับชั้นอนุบาลและระดับชั้นประถมศึกษารู้จักดูแลสุขภาพมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสมตามเกณฑ์
  4. เพื่อให้นักเรียนระดับชั้นอนุบาลและระดับชั้นประถมศึกษามีสุขนิสัยที่ดีไม่เป็นโรคติดต่อ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การดูเเลสุขภาพวัยเรียน
  2. แปรงฟันหลังอาหารกลางวัน
  3. ส่งเสริมสุขนิสัยในการล้างมือ
  4. กำจัดเหา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 24
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 130
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนหญิงระดับชั้นอนุบาลและประถมศึกษาให้ปฏิบัติตนในการกำจัดเหาและป้องกันตนเองไม่ให้เป็นเหาได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 80.00
  2. นักเรียนระดับชั้นอนุบาลและระดับชั้นประถมศึกษามีสุขภาพในช่องปากที่ดี ไม่เป็นโรคฟันผุร้อยละ 90
  3. นักเรียนระดับชั้นอนุบาลและระดับชั้นประถมศึกษารู้จักดูแลสุขภาพมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสมตามเกณฑ์ร้อยละ 90
  4. นักเรียนระดับชั้นอนุบาลและระดับชั้นประถมศึกษามีสุขนิสัยที่ดีไม่เป็นโรคติดต่อร้อยละ 80

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การดูเเลสุขภาพวัยเรียน

วันที่ 31 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการการดูแลสุขภาพในวัยเรียน     ดำเนินการอบรมในวันที่ 16  กรกฎาคม  2563  มีกำหนดการอบรมดังนี้     08.30  น.  -  09.00  น.                ครู  นักเรียน รายงานตัว พร้อมกันที่ห้องประชุม 1
        09.00  น.  -  09.30  น.                พิธีเปิด     09.30  น.  -  10.30  น.                สุขบัญญัติ ๑๐ ประการและโรคติดต่อในเด็ก                                                     (นางยุวนิตย์  ช่างสาน,  นางสาวนิล  รอเหมมัน)     10.30  น.  -  10.45 น.                รับประทานอาหารว่าง     10.45  น.  -  11 .30 น.                การดูแลรักษาสุขภาพนักเรียน, การแปรงฟันที่ถูกวิธี                                                     (นางชุมาพร  หาโส๊ะ)     11.30  น.  -  13.00                    รับประทานอาหารกลางวัน , ละหมาด
  2. ครูประจำชั้นตรวจสุขภาพนักเรียนทุกวัน
  3. ประเมินผล สรุปรายงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. นักเรียนและครูเข้าร่วมกิจกรรมการอบรม จำนวน 143  คน
  2. นักเรียนมีความรู้เรื่องการปฏิบัติตนตามสุขบัญญัติ 10  ประการ  และปฏิบัติตนตามสุขบัญญัติ 10
        ประการได้ ส่งผลให้นักเรียนมีร่างกายที่แข็งแรง จิตใจร่าเริง มาโรงเรียนย่างมีความสุข
  3. นักเรียนมีความรู้ในเรื่องโรคติดต่อ ได้แก่ COVID 19,  ไข้หวัด, ไข้เลือดออก, มือเท้าปาก     รู้จักการปฏิบัติบัติตนไม่ให้ติดโรคเหล่านั้น
  4. นักเรียนปฏิบัติการแปรงฟันได้ถูกต้อง นำไปใช้ในการแปรงฟันทุกครั้ง

 

154 0

2. แปรงฟันหลังอาหารกลางวัน

วันที่ 31 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. นักเรียนแปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวัน  เวลา  12.10 น. -  12.20 น.ดังนี้     1.1 นักเรียนเตรียมอุปกรณ์การแปรงฟันได้แก่ แปรงสีฟัน  ยาสีฟัน  ขวดน้ำ     1.2 นักเรียนมาพร้อมกันบริเวณที่แปรงฟันเมื่อได้ยินเสียงแปรงฟัน     1.3 นักเรียนแปรงฟันพร้อมกันตามเพลงแปรงฟันกันเถอะ
  2. ครูเวรประจำวันตรวจการแปรงฟันของนักเรียน
  3. ครูประจำชั้นตรวจฟันนักเรียน
  4. ประเมินผล สรุปรายงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. นักเรียนแปรงฟันอย่างถูกวิธี
  2. นักเรียนมีสุขภาพปากและฟันทีดี ฟันสะอาด ฟันไม่ผุ  เหงือกแข็งแรง
  3. นักเรียนมีความรับผิดชอบ  ตรงต่อเวลา

 

154 0

3. ส่งเสริมสุขนิสัยในการล้างมือ

วันที่ 31 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. อบรมให้ความรู้นักเรียนเกี่ยวกับขั้นตอนการล้างมือ ประโยชน์ของการล้างมือ
  2. กำหนดบริเวณให้นักเรียนล้างมือ วางสบู่ให้นักเรียนใช้ล้างมือ
  3. นักเรียนดำเนินการล้างมือในเวลา หลังทำความสะอาดเขตพื้นที่  ก่อนขึ้นห้องเรียน   หลังออกจากห้องน้ำห้องส้วม ก่อนและหลังรับประทานอาหาร
  4. ครูประจำชั้นตรวจมือนักเรียน
  5. ประเมินสรุปรายงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. นักเรียนปฏบัติตนในการล้างมือได้ถูกต้อง
  2. นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง  ไม่เป็นโรคติดต่อ

 

154 0

4. กำจัดเหา

วันที่ 31 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการการกำจัดเหา     กำหนดการอบรม วันที่ 16 กรกฎาคม  2563         13.00  น. - 13.15  น.      ครู  นักเรียนหญิง รายงานตัว พร้อมกันที่ห้องประชุม 1
            13.15  น. - 13.30  น.      พิธีเปิด         13.30  น. - 14.30  น.      เหาและโทษของเหา                                             ( ครูชุมาพร  หาโส๊ะ)         14.30  น. - 14.45  น.        รับประทานอาหารว่าง         14.45  น. - 16.00 น.          การปฏิบัติกำจัดเหา                                               (ครูประจำชั้น ป.1-6 )         16.00  น. - 16.15 น.          พิธีปิด
  2. นักเรียนหญิงชั้นอนุบาล 2 - ป.6  กำจัดเหาทุกวันศุกร์ เวลา 15.30 น. - 16.00 น.
  3. ครูประจำชั้นตรวจสุขภาพ
  4. ประเมินผล สรุรายงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. นักเรียนปฏิบัติตนในการกำจัดเหาได้ถูกต้อง
  2. นักเรียนที่ไม่เป็นเหาจำนวน 25 คน
  3. นักเรียนมีความรับผิดชอบ  มีความตั้งใจในการปฏิบัติกิจกรรม

 

79 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. นักเรียนหญิงระดับชั้นอนุบาลและประถมศึกษาปฏิบัติตนในการกำจัดเหาและป้องกันตนเองไม่ให้เป็นเหาได้ร้อยละ 81.25
  2. นักเรียนระดับชั้นอนุบาลและระดับชั้นประถมศึกษารู้จักดูแลสุขภาพมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสมตามเกณฑ์ ร้อยละ 77.04
  3. นักเรียนระดับชั้นอนุบาลและระดับชั้นประถมศึกษามีสุขภาพในช่องปากที่ดี ไม่เป็นโรคฟันผุร้อยละ 90
  4. นักเรียนระดับชั้นอนุบาลและระดับชั้นประถมศึกษามีสุขนิสัยที่ดีไม่เป็นโรคติดต่อร้อยละ 90

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมนักเรียนหญิงระดับชั้นอนุบาลและประถมศึกษาให้ปฏิบัติตนในการกำจัดเหาและป้องกันตนเองไม่ให้เป็นเหา (คน)
ตัวชี้วัด : นักเรียนหญิงระดับชั้นอนุบาลและประถมศึกษาที่เป็นเหาปฏิบัติตนในการกำจัดเหาร้อยละ80
79.00 79.00 81.25

นักเรียนรู้จักปฏิบัติตนในการกำจัดเหาและป้องกันตนเองไม่ให้เป็นเหา

2 เพื่อให้นักเรียนระดับชั้นอนุบาลและระดับชั้นประถมศึกษามีสุขภาพในช่องปากที่ดี ไม่เป็นโรคฟันผุ
ตัวชี้วัด : นักเรียนระดับชั้นอนุบาลและระดับชั้นประถมศึกษามีสุขภาพในช่องปากที่ดี ไม่เป็นโรคฟันผุร้อยละ90
154.00 154.00 90.00

นักเรียนปฎิบัติตนในการกำจัดเหาและไม่เป้นเหา

3 เพื่อให้นักเรียนระดับชั้นอนุบาลและระดับชั้นประถมศึกษารู้จักดูแลสุขภาพมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสมตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : นักเรียนระดับชั้นอนุบาลและระดับชั้นประถมศึกษารู้จักดูแลสุขภาพมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสมตามเกณฑ์ ร้อยละ 90
154.00 154.00 77.04

นักเรียนมีสุขภาพในช่องปากที่ดีและฟันไม่ผุ

4 เพื่อให้นักเรียนระดับชั้นอนุบาลและระดับชั้นประถมศึกษามีสุขนิสัยที่ดีไม่เป็นโรคติดต่อ
ตัวชี้วัด : นักเรียนระดับชั้นอนุบาลและระดับชั้นประถมศึกษามีสุขนิสัยที่ดีไม่เป็นโรคติดต่อร้อยละ 80
154.00 154.00 90.00

นักเรียนรุ้จักดูแลสุขภาพ มีสุขนิสัยที่ดีในการล้างมือก่อน - หลังรับประทานอาหารและหลังจากออกจากห้องส้วม

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 154 143
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 24 15
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 130 117
กลุ่มวัยทำงาน 0 11
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมนักเรียนหญิงระดับชั้นอนุบาลและประถมศึกษาให้ปฏิบัติตนในการกำจัดเหาและป้องกันตนเองไม่ให้เป็นเหา (คน) (2) เพื่อให้นักเรียนระดับชั้นอนุบาลและระดับชั้นประถมศึกษามีสุขภาพในช่องปากที่ดี ไม่เป็นโรคฟันผุ (3) เพื่อให้นักเรียนระดับชั้นอนุบาลและระดับชั้นประถมศึกษารู้จักดูแลสุขภาพมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสมตามเกณฑ์ (4) เพื่อให้นักเรียนระดับชั้นอนุบาลและระดับชั้นประถมศึกษามีสุขนิสัยที่ดีไม่เป็นโรคติดต่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การดูเเลสุขภาพวัยเรียน (2) แปรงฟันหลังอาหารกลางวัน (3) ส่งเสริมสุขนิสัยในการล้างมือ (4) กำจัดเหา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) กิจกรรมการกจัดเหาต้องให้ผู้ปกครองช่วยในการกำจัดนักเรียนด้วย

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านกาเนะ

รหัสโครงการ 63-L5307-2-02 รหัสสัญญา 14/2563 ระยะเวลาโครงการ 1 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านกาเนะ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5307-2-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอรุนา ตาเดอิน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านกาเนะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด