กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ ลด ละเลิกสูบบุหรี่หน้าใหม่ในชุมชน 63
รหัสโครงการ L4145/14/63
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่ม อสม.
วันที่อนุมัติ 21 ตุลาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 28 มีนาคม 2563 -
กำหนดวันส่งรายงาน 30 พฤษภาคม 2563
งบประมาณ 40,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางฮัฟเสาะ อาลีโต๊ะมะ
พี่เลี้ยงโครงการ รพ.สต.บ้านปาแดรู
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.502,101.063place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานยาสูบ , แผนงานสิ่งเสพติด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

ระบุ

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 2.ร้อยละของเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปีที่สูบบุหรี่ 3.จำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงาน เพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ 60 คน 4.ยอดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบทั้งหมดเฉลี่ยต่อเดือนของร้านค้า 5000 บาท 5. ร้อยละของผู้เลิกสูบบุหรี่ได้สำเร็จ(เลิกติดต่อกัน 6 เดือนโดยไม่ก
50.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อสร้าง/ขยายเครือข่ายเฝ้าระวังควบคุมการบริโภคยาสูบในหมู่บ้าน/ชุมชนทั่วประเทศ 2. เพื่อให้ อสม. มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังเพื่อการเลิกสูบบุหรี่ในหมู่บ้าน/ชุมชนโดย 1 อสม. ขอ 1 คนเลิกบุหรี่ 3. สามารถเป็นบุคคลต้นแบบได้
  1. มีรายชื่อ อสม.เฝ้าระวังเพื่อการเลิกบุหรี่  และรายชื่อผู้สมัครเข้าร่วมโครงการเลิกบุหรี่ จำนวน 160  คน
  2. รายชื่อ ประธานชมรม อสม.ระดับตำบล จำนวน 110 ในตำบล  เป็นเครือข่าย
  3. ความสำเร็จของการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเฝ้าระวังเพื่อการเลิกสูบบุหรี่โดยพลัง อสม.  “1 อสม. ขอ 1 คนเลิก”
    ระดับผลลัพธ์     ร้อยละ 80 ของผู้สมัครเลิกบุหรี่ในโครงการ สามารถเลิกสูบบุหรี่ได้ใน 3 เดือนที่เข้าร่วมโครงการ
120.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. ประชาสัมพันธ์โครงการเฝ้าระวังเพื่อการเลิกสูบบุหรี่โดยพลัง อสม. “1 อสม. ขอ 1 คน เลิก”
  2. ให้ อสม. ในพื้นที่ตำบลที่รับผิดชอบ (อสม. เฝ้าระวังเพื่อการเลิกบุหรี่) โดย อสม. 1 คน
    ชักชวนประชาชน/อสม. เข้าร่วมโครงการเฝ้าระวังเพื่อการเลิกสูบบุหรี่โดยพลัง อสม. “1 อสม. ขอ 1 คนเลิก” เพื่อการเลิกสูบบุหรี่ให้ได้หมู่ละ 10 คน โดยมีพฤติกรรมการบอกเลิกสูบบุหรี่ต่อเนื่องไม่ต่ำกว่า 3 เดือน และไม่กลับไปสูบบุหรี่อีก
      3.เป็นผู้รวบรวมรายชื่อ อสม.ผู้ปฏิบัติงานและผู้สมัครเลิก   อสม. เฝ้าระวังเพื่อการเลิกสูบบุหรี่ มีดังนี้     1. เชิญชวนผู้สูบบุหรี่ในหมู่บ้าน/ ชุมชน เข้าร่วมโครงการฯ (อสม. 1 คน ต่อ ผู้สูบบุหรี่ 1 คน)   2. ให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายจากพิษภัยของบุหรี่ ให้กำลังใจ และคำแนะนำในการเลิกสูบบุหรี่ หรือเข้าระบบการบำบัด เพื่อการเลิกสูบบุหรี่   3. ติดตามการเลิกสูบบุหรี่ต่อเนื่อง 3 เดือน โดยไม่กลับมาสูบบุหรี่อีก   4. รายงานผลการดำเนินงานตามแบบรายงานให้ประธานชมรม อสม. ตำบล
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ที่คาดว่าจะได้รับ       1.. คนในชุมชนได้มีความรู้ในเรื่องของพิษควันบุหรี่.... 2. ...ได้ส่งเสริม รณรงค์ ลด ละ เลิกบุหรี่......... 3. ......คนที่เคยสูบบุหรี่ สามารถเลิกสูบบุหรี่ได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 28 พ.ย. 2562 13:06 น.