กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังอ่อนหวาน มัน เค็มลดเสี่ยง ลดโรค ลดแทรกซ้อน ความดันโลหิตสูงและเบาหวานตำบลยะหา
รหัสโครงการ 63-L4150-1-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลากอตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
วันที่อนุมัติ 15 มกราคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 17 กุมภาพันธ์ 2563 - 31 สิงหาคม 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 7 กันยายน 2563
งบประมาณ 113,400.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางกรรนิการ์ เหละดุหวี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 1386 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 431 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 444 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน
124.00
2 กลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน
25.00
3 กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิต
268.00
4 กลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคความดันโลหิต
27.00
5 ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
298.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และโรคหัวใจและหลอดเลือด นับเป็นภัยเงียบที่คร่าชีวิตผู้คนไปเป็นจำนวนมาก นับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ ในปัจจุบันซึ่งทั่วโลกให้ความสำคัญกับการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมากขึ้นเนื่องจากสภาวะความเป็นอยู่ วิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปและพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องของประชาชนทำให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีจำนวนเพิ่มขึ้น ส่งผลกระทบก่อให้เกิดโรค เกิดภาวะแทรกซ้อน เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควร การเกิดโรคมีสาเหตุจากหลายปัจจัยเสี่ยง มาจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย ความเครียด การดื่มสุรา สูบบุหรี่ และนำไปสู่การเจ็บป่วยแทรกซ้อนที่สำคัญ อาทิ โรคจอประสาทตาเสื่อม โรคไตวายเรื้อรัง (CKD)โรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD) แผลเรื้อรัง การถูกตัดขา ตัดนิ้ว เป็นต้น ความเจ็บป่วยเหล่านี้ยังส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยตลอดจนค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุข เป็นต้น จากข้อมูลการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลากอปี 2562 พบกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน จำนวน 124 ราย และ 25 ราย คิดเป็นร้อยละ 9.65 และ 1.95ผู้ป่วยรายใหม่14 ราย พบกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 268 ราย และ 27 ราย คิดเป็นร้อยละ 23.93 และ 2.41 ตามลำดับ ผู้ป่วยรายใหม่36ราย ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด 298 รายควบคุมระดับความดันได้ดีจำนวน 163 คน คิดเป็นร้อยละ 54.69 มีภาวะโรคแทรกซ้อน 61 ราย ผู้ป่วยโรคเบาหวานจำนวน109 ราย ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีจำนวน 39 คนคิดเป็นร้อยละ 35.44 มีภาวะแทรกซ้อน 15 ราย มีจำนวนผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นทุกปี ดังนั้นการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ในประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป จึงมีความจำเป็นต้องได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ ผู้ป่วยสามารถควบคุมน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตได้ และกลุ่มที่มีภาวะเสี่ยงสูงจำเป็นต้องได้รับการส่งต่อพบแพทย์เพื่อเข้ากระบวนการรักษาต่อไป โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลากอเห็นความสำคัญ จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังอ่อนหวาน มัน เค็มลดเสี่ยง ลดโรค ลดแทรกซ้อน ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องและมีพฤติกรรมเหมาะสมในการป้องกันโรค

จำนวนประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องและมีพฤติกรรมเหมาะสมในการป้องกันโรค

200.00 200.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 200 113,400.00 5 113,400.00
17 ก.พ. 63 - 31 ส.ค. 63 กิจกรรมให้ความรู้โรงเรียน NCD Lakor แก่กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย 200 27,200.00 27,200.00
17 ก.พ. 63 - 31 ส.ค. 63 กิจกรรมคลินิก DPAC เพื่อให้บริการแก่ผู้ป่วยเรื้อรัง กลุ่มเสี่ยง และประชาชนทั่วไปที่เข้ามารับบริการ 0 70,000.00 70,000.00
17 ก.พ. 63 - 31 ส.ค. 63 เฝ้าระวัง ติดตามกลุ่มสงสัยป่วยและผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มีความจำเป็นตามลำดับก่อนหลัง 0 16,200.00 16,200.00
25 ม.ค. 64 - 31 ส.ค. 63 ให้บริการคัดกรอง DM HT 0 0.00 0.00
25 ม.ค. 64 ตรวจระดับน้ำตาล ดูแลผู้ป่วยและจัดระบบส่งต่อผู้ป่วย 0 0.00 0.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 กลุ่มเสี่ยงมีความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อย่างน้อยร้อยละ 80 2 จำนวนผู้ป่วยรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงลดลง จากปีก่อน 3 .ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ (HbA1C < 7%) เพิ่มขึ้นจากก่อนเข้าร่วมโครงการ อย่างน้อยร้อยละ 10 4. ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ (BP

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 ธ.ค. 2562 00:00 น.