กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
a. การออกเยี่ยมบ้านกลุ่มที่ได้รับผลกระทบจาก ปัญหาสุขภาพกรณีเร่งด่วนนั้นๆ b. สัมภาษณ์ ประเมินสุขภาพจิต ด้วย แบบสอบถามสุขภาพจิต กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข12 พฤษภาคม 2020
12
พฤษภาคม 2020รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลร่มเมือง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

a. การออกเยี่ยมบ้านกลุ่มที่ได้รับผลกระทบจาก ปัญหาสุขภาพกรณีเร่งด่วนนั้นๆ b. สัมภาษณ์ ประเมินสุขภาพจิต ด้วย แบบสอบถามสุขภาพจิต กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ประชาชนได้รับการดูแลสุขภาพอย่างทันท่วงที
  2. สามารถลดความรุนแรงที่จะส่งผลต่อสุขภาพ
  3. เพิ่มศักยภาพผู้นำสุขภาพในการเข้าถึงการดูแลสุขภาพเชิงรุกแก่ประชาชน
  4. ประชาชน ผู้นำชุมชน อสม. ได้รับความรู้และมีทักษะในการแก้ไขปัญหาสุขภาพเบื้องต้นในเรื่องนั้นๆ ที่เกิดขึ้น
1.1 แจ้งประกาศ ประชาสัมพันธ์ และประสาน พื้นที่ในการสร้างความเข้าใจแก่ อสม. ผู้นำชุมชน และประชาชนชน 1.2 ให้ความรู้ ข้อมูลที่ถูกต้องในการปฏิบัติตน และการป้องกันตนเองให้มีสุขภาพที่แข็งแรง 1.3 ออกปฏิบัติงานแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น อย่างทันถ่วงที1 ธันวาคม 2019
1
ธันวาคม 2019รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลร่มเมือง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. จัดเวทีสรุปสถานการณ์ฉุกเฉินทางสุขภาพในพื้นที่ตำบลร่มเมืองกับหน่วยงานบริการสุขภาพในตำบล คือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่ และบ้านลำ
  2. จัดทำแผนงานโครงการกรณีเหตุฉุกเฉินในการดูแลสุขภาพของประชาชนเพื่อบรรจุเข้าแผนงานกองทุนฯ
  3. จัดทำโครงการเพื่อขอรับงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลร่มเมือง
  4. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ สำหรับดูแล ป้องกัน หรือเยียวยา ประชาชนในตำบลร่มเมืองเมื่อเกิดสถานการณ์
  5. ให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ ให้คำแนะนำ การฝึกปฏิบัติการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากสถานการณ์นั้นๆ
  6. ดำเนินการรายงานผลดูแล ป้องกัน หรือเยียวยา ประชาชนในตำบลร่มเมืองเมื่อเกิดสถานการณ์นั้นๆ
  7. สรุปผลโครงการ
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ประชาชนได้รับการดูแลสุขภาพอย่างทันท่วงที
  2. สามารถลดความรุนแรงที่จะส่งผลต่อสุขภาพ
  3. เพิ่มศักยภาพผู้นำสุขภาพในการเข้าถึงการดูแลสุขภาพเชิงรุกแก่ประชาชน
  4. ประชาชน ผู้นำชุมชน อสม. ได้รับความรู้และมีทักษะในการแก้ไขปัญหาสุขภาพเบื้องต้นในเรื่องนั้นๆ ที่เกิดขึ้น