กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังในชุมชน ประจำปี2563
รหัสโครงการ 63-L3360-1-07
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านหูแร่
วันที่อนุมัติ 11 ธันวาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2563
งบประมาณ 29,800.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ ผอ.รพ.สต.บ้านหูแร่
พี่เลี้ยงโครงการ นางจรรยา คงสุด
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.556,100.008place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 315 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 270 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อส่งเสริมการเข้าถึงจัดการตนเองของกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือดของปี 2562ในพื้นที่
  • ลดอัตราป่วยรายใหม่ในกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน(ปีก่อน)  ร้อยละ 1.25 ลดอัตราป่วยรายใหม่ในกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง(ปีก่อน)    ร้อยละ 2.95
  • ลดอัตราป่วยรายใหม่ในกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดใน 10 ปี มากกว่า 10% ของกลุ่ม เสี่ยงปีก่อน
0.00
2 2. เพื่อส่งต่อกลุ่มเสี่ยงที่มีระดับความรุนแรงเข้าสู่คลินิกดีแพค
  • กลุ่มเสี่ยงดังกล่าวสามารถเฝ้าระวังตนเอง เข้าถึง การติดตามความเสี่ยง  ร้อยละ 90
0.00
3 3. เพื่อส่งเสริมกลุ่มเสี่ยงที่มีระดับความเสี่ยงที่รุนแรงเข้าใจภาวะสุขภาพของตนเองส่งเสริมชักชวนสมัครเข้าร่วมคลินิกดีแพค ประจำปี 2563
  • กลุ่มเสี่ยงดังกล่าวสามารถเฝ้าระวังตนเอง เข้าถึง การจัดการตนเองในคลินิกดีแพคที่มีการติดตามปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70
0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 658 29,800.00 3 11,700.00
1 ม.ค. 63 - 28 ก.พ. 63 1.1 คืนข้อมูลผลการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปี 2560-2563 1.๒. ประชุมเครือข่ายทำงาน - ติดตามกลุ่มเสี่ยงและคัดกรองภาวะสุขภาพประจำปี ครั้งที่ 1 พบยังเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด มากกว่า 10% ประชาส 658 1,700.00 1,700.00
2 มี.ค. 63 - 30 ก.ย. 63 2.1. จัดอบรมให้ความรู้ด้าน 3อ. 2ส. ทุกวันพุธเพื่อเชิญชวนกลุ่มเสี่ยงที่สมัครใจร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยน อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย สุรา บุหรี่ (บันทึกข้อมูลภาวะสุขภาพ ก่อน –หลัง ต่อเนื่องรวมจำนวน 3 - 4 เดือน) - มีภาวะความดันโลหิตสูงมากกว่า 120/80 0 6,800.00 0.00
2 มี.ค. 63 - 30 มิ.ย. 63 3.1. ต้นแบบโยคะและแอโรบิก จำนวน 50 คน 3.2. ต้นแบบปั่นจักรยาน จำนวน 50 คน 0 21,300.00 10,000.00

การส่งเสริมการคัดกรองประจำปีในพื้นที่ 2563 2. การส่งเสริมการติดตามเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงเบาหวาน เดือนละ 1 ครั้ง/หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อเข้าสู่กลุ่มปกติ กิจกรรมที่ 2 3. อบรมแกนนำปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ.2ส ต้นแบบกลุ่มเสี่ยง กลุ่มละจำนวน 50 คน รูปแบบกิจกรรมออกกำลังกาย 2 กลุ่ม คือ ต้นแบบโยคะและแอโรบิก ต้นแบบปั่นจักรยาน เพื่อสัญจรสู่ชุมชน 4. สรุปผลกิจกรรม

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือดพื้นที่ ได้เข้าถึงกิจกรรมการติดตาม การเฝ้าระวังโดยชุมชนมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน มีการคืนข้อมูลการเฝ้าระวังตนเองอย่างต่อเนื่อง เกิดการสร้างกระแสการรักษ์สุขภาพในชุมชน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 6 ม.ค. 2563 09:51 น.