กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมและดูแลสุขภาพของเกษตรกรสวนยางพารา
รหัสโครงการ 63-L1541-2-12
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลห้วยยอด
วันที่อนุมัติ 9 มกราคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2563 - 30 มิถุนายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 31 กรกฎาคม 2563
งบประมาณ 34,687.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางพรเพ็ญ แก้วลี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลห้วยยอด อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.776,99.632place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานแรงงานนอกระบบ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ก.พ. 2563 30 มิ.ย. 2563 34,687.00
รวมงบประมาณ 34,687.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1092 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรสวนยางพารา มีความรู้ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทำงานให้ถูกต้อง

 

0.00
2 เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรสวนยางพารา ที่เข้าร่วมกิจกรรม (จำนวน 40 คน) เป็นแกนนำส่งเสริมสุขภาพ นำความรู้ที่ได้ไปถ่ายทอดให้กับเกษตรกรสวนยางพาราที่ไม่ได้เข้าร่วม

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 1093 34,687.00 3 28,432.00
1 - 29 ก.พ. 63 สำรวจข้อมูลผู้มีอาชีพทำสวนยาง 1,000 11,000.00 5,800.00
1 - 31 มี.ค. 63 ประชุม อสม. 52 1,820.00 1,300.00
1 เม.ย. 63 - 30 มิ.ย. 63 อบรมให้ความรู้ 41 21,867.00 21,332.00

๑. สำรวจข้อมูลความเสี่ยงและภัยคุมคามจากการประกอบอาชีพและระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพสวนยางพารา โดยข้อมูลจำนวนผู้ประกอบอาชีพทำสวนยาง ปัญหาด้านสุขภาพ ความต้องการแก้ไขปัญหาของผู้ประกอบการอาชีพฯ   ๒. ประชุมเชิงปฺฏิบัติการ ของ อสม. เพื่อค้นหาและพัฒนาการจัดการความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ กำหนดกระบวนการจัดการให้ความรู้ พร้อมทั้งคัดเลือกเกษตรกรสวนยางพาราที่จะเข้าอบรมและเป็นแกนนำส่งเสริมสุขภาพ 3. อบรมปฏิบัติการ ส่งเสริมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และฝึกการบริหารร่างกายตนเองด้วยโยคะให้เกษตรกรสวนยางพารา จำนวน 40 คน (ซึ่งเป็นแกนนำสุขภาพต่อไป) 4. แกนนำฯ ที่ได้รับการอบรม ลงพื้นที่ถ่ายทอดความรู้ในการดูแลตนเองให้กับเกษตรกรสวนยางพาราที่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการ 5. ประเมินผลโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรสวนยางพารา มีความรู้ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทำงานให้ถูกต้อง ๒. เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรสวนยางพารา ที่เข้าร่วมกิจกรรม (จำนวน 40 คน) เป็นแกนนำส่งเสริมสุขภาพ นำความรู้ที่ได้ไปถ่ายทอดให้กับเกษตรกรสวนยางพาราที่ไม่ได้เข้าร่วม

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 29 ม.ค. 2563 14:33 น.