กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมเกษตรปลอดสารพิษ ห่างไกลยาเสพติดบ้านบาโงบุโระ
รหัสโครงการ 61-l4160-2-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ จิตอาสาญาลันนันบารู บ้านบาโงบุโระ ต.เนินงาม
วันที่อนุมัติ 6 กุมภาพันธ์ 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 6 กุมภาพันธ์ 2560 - 28 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 28 กันยายน 2561
งบประมาณ 100,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางรอปีอะ อาบูบากา นายดาโอะ ดอเลาะเจ๊ะแต นายบูรฮาน สาและมะนายอาบาส หะนายดาโอะ เปอะรอมิง
พี่เลี้ยงโครงการ นายประพันธ์ สุมี
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเนินงาม อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.508,101.347place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสิ่งเสพติด , แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 28 มิ.ย. 2561 28 มิ.ย. 2561 50,000.00
2 19 ก.ค. 2561 20 ก.ค. 2561 30,000.00
3 20 ก.ค. 2561 30 ก.ค. 2561 5,000.00
4 15 ส.ค. 2561 30 ก.ย. 2561 10,000.00
5 15 ส.ค. 2561 11 ต.ค. 2561 5,000.00
รวมงบประมาณ 100,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ลักษณะพื้นที่ อบต.เนินงาม มีจำนวน 7 หมู่บ้าน จำนวนครัวเรือน จำนวน1,596 ครัวเรือน สถานการณ์การติดสารเสพติดในพื้นที่ในลักษณะของการเสพยาบ้า จำนวน 37 คน จากการคัดกรอง การเสพยาเสพติด 4x100 พืชกระท่อม ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเยาวชน อายุ 14 ปี โดยส่วนใหญ่ไม่มีอาชีพ มีเวลาว่าง ถุกเพื่อนชักชวน สาเหตุเนื่องมาจาก ครอบครัวแตกแยก ประมาณร้อยละ 21ไม่ได้ศึกษาต่อและถุกเพื่อนชักชวนร้อยละ 18 พ่อแม่เวลาไม่มีเวลาดูแลลูก ทำงานหาเลี้ยงชีพนอกพื้นที่ จนไม่มีเวลาดูแลลูก ร้อยละ 59
ที่ผ่านมากลุ่มจิตอาสาญาลันนันบารู ตำบลเนินงามขณะนี้มีจำนวน 105 คนมีครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการญาลันนันาบรู857 ครัวเรือน ผ่านกระบวนการเชิญชวนและแจกใบสมัคร ซึ่งมีเงื่อนไขสำคัญ คือ การระดมทุนผ่านการบริจาคสัปดาห์ละ 1 บาท จนมีเงินสะสมในกองทุนสัจจะ จำนวน 5272 บาท ซึ่งดำเนินงานมาจากมา 1 ปี ได้ใช้งบประมาณดังกล่าวเพื่อใช้ในการทำกิจกรรมให้ความรู้ พบปะทำความเข้าใจ การทำกิจกรรมคัดแยกเยาวชนกลุ่มเสีี่ยง ติดตามช่วยเหลือส่งเยาวชนเข้าสูกระบวนการฟื้นฟูและบำบัดผู้เสพยาเสพติด ติดตามประเมินผล การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมอาชีพ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดภาวะเสี่ยงจากสารพิษตกค้างของเกษตรกรและผู้บริโภค
  1. เกษตรและประชาชนในครัวเรือนนำร่อง 30 ครัวเรือน ได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด
  2. เกษตรกรและประชาชนในครัวเรือนนำร่องเข้าอบรมและสามารถนำแนวเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิตประจำวัน จำนวน 100 คน
  3. เกษตรกรและประชาชนในครัวเรือนนำร่องสามารถใช้สมุนไพรลดสารเคมีในเลือดลง กลุ่มเสี่ยง(มีสารเคมีตกค้างในระดับอันตราย) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60
2 เพื่อลดปัญหายาเสพติดของหมู่บ้านผ่านแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
  1. สภาซูรอมีการบรรจุและเห็นร่วมในประเด็น การแก้ปัญหายาเสพติด
  2. เกิดครัวเรือนนำร่องด้านการนำปรัชญาเศรษฐิกจพอเพียง ไม่น้อยกว่า 30 ครัวเรือน
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 60,000.00 0 0.00
28 มิ.ย. 60 การคัดกรองสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดในกลุ่มเกษตรกรและประชาชนทั่วไป 0 50,000.00 -
20 ก.ค. 60 - 30 พ.ย. 60 ครอบครัวนำร่อง กลับไปดำเนินชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ระยะเวลา 4 เดือน 0 0.00 -
15 ส.ค. 60 - 30 ก.ย. 60 จัดบริการลดสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด โดยใช้สมุนไพร 0 10,000.00 -
  1. การคัดกรองสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดในกลุ่มเกษตรกรและประชาชนทั่วไป โดยร่วมกับทาง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเนินงาม
  2. สร้างกระบวนการเรียนรู้ เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือนนำร่อง (พ่อ แม่ และลูก) จำนวน 100 คน ณ ศูนย์เรียนรู้ขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงหมู่ที่ 1 ต.เนินงาม
    2.1 หลักสูตรการอบรม ประกอบด้วย แนวทางตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การจัดทำดินอินทรีย์ การเตรียมสารกำจัดศัตรูพืชจากสารชีวภาพ การจัดทำปุ๋ยชีวภาพ สมุนไพรเป็นต้น
    2.2 ระยะเวลาการฝึกอบรม ระยะเวลา 2 วัน
  3. ครอบครัวนำร่องลงปฏิบัติการเกี่ยวกับการปลุกผักปลอดสารพิษ สมุนไพร และดำเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ระยะเวลา 4 เดือน
  4. การลงพื้นที่ติดตามและจัดทำแผนที่การดำเนินปลูกผักปลอดสารพิษ สมุนไพร จำนวน 2 ครั้ง ระยะเวลา ทุก 2 เดือน
  5. การจัดบริการลดสารเคมีในกระแสเลือดสำหรับเกษตร โดยใช้สมุนไพรรางจืด โดยแพทย์ทางเลือกโรงพยาบาลรามัน
  6. เวทีสาร์นเสวนาผ่านสภาซูรอ ประเด็นปัญหายาเสพติด โดยผู้นำชุมชน หมู่บ้าน เป็นต้น
  7. เวทีคืนข้อมูลการแก้ปัญหาสารเคมีตกค้างและการดำเนินชีวิตตามวิถีพอเพียง
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกษตรกรและประชาชนในครอบครัวนำร่อง(กลุ่มเสี่ยง)มีกิจกรรมเชิงสร้างสรร ลดปัญหาติดยาเสพติดตามแนววิถีเศรษฐกิจพอเพียง
2.เกษตรกรและประชาชนสามารถปลูกผักปลอดสารพิษและนำมาบริโภค อันเป็นผลดีต่อสุขภาพ
3. สภาซูรอมีการบรรจุและเห็นร่วมในประเด็น การแก้ปัญหายาเสพติด

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 17 พ.ค. 2560 11:54 น.