กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน


“ โครงการวัยใส ใส่ใจรัก ”

ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวรัตนา สุขขี

ชื่อโครงการ โครงการวัยใส ใส่ใจรัก

ที่อยู่ ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L1528-2-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2563 ถึง 28 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการวัยใส ใส่ใจรัก จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการวัยใส ใส่ใจรัก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการวัยใส ใส่ใจรัก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L1528-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2563 - 28 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วัยรุ่น ถือเป็นช่วงวัยของการเปลี่ยนแปลงทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคมเพื่อเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงถือเป็นสิ่งสำคัญและอาจกล่าวได้ว่าเป็นวิกฤตแห่งชีวิต หากไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสม ซึ่งสังคมของวัยรุ่นนั้น มักจะเริ่มต้นจากโรงเรียน สถานศึกษา เป็นวัยที่มีการหน้าที่ในการศึกษาเล่าเรียน และนำความรู้ที่ได้มาไปประกอบอาชีพในอนาคต สภาพสังคมไทยในปัจจุบัน มีการเปลี่ยนแปลงในการดำรงชีวิต จากครอบครัวขยาย กลายเป็นครอบครัวเดี่ยว อีกทั้งสภาพเศรษฐกิจที่เปลี่ยนไป ทำให้พ่อแม่ต้องประกอบอาชีพนอกบ้าน ส่งผลให้สภาพครอบครัวขาดความอบอุ่น เยาวชนในครอบครัวขาดการดูแลและชี้แนะในสิ่งที่เหมาะสม ประกอบกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีในยุคโลกาภิวัตน์ ทำให้วัยรุ่นถูกกระตุ้นด้วยสิ่งเร้า เช่น สื่อลามกในโลกอินเตอร์เน็ต การหลงผิดจากการชักจูงของเพื่อน ซึ่งสิ่งเหล่านี้ส่งผลให้วัยรุ่นเกิดพฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสม ด้วยการขาดวุฒิภาวะและทักษะในการควบคุมอารมณ์ ทางเพศของตนเอง วัยรุ่นจึงมีเพศสัมพันธ์ในวัยที่ไม่เหมาะสม และขาดความเข้าใจเรื่องเพศศึกษา จึงส่งให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ขึ้น ส่งผลให้การศึกษาเล่าเรียนไม่ประสบผลสำเร็จ ซึ่งจากสถิติข้อมูลการตั้งครรภ์ของวัยรุ่นมีมากถึง 20% ทำให้สูญเสียอนาคตของชาติไป
โรงเรียนบ้านควนตัง ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงจัดทำโครงการให้ความรู้กับนักเรียนในโรงเรียน เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้เรื่องเพศศึกษา พัฒนาการทางเพศของตนเอง รู้แนวทางการป้องกันการตั้งครรภ์ การรักนวลสงวนตัว และการดูแลสุขภาพของตนเองให้สามารถมีภูมิคุ้มกันรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนสามารถปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสม
  2. เพื่อให้นักเรียนรู้จักการเลือกรับข้อมูลที่ถูกต้องและเหมาะสม
  3. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องเพศศึกษา พัฒนาการทางเพศของตนเองได้ถูกต้องและเหมาะสม
  4. เพื่อให้นักเรียนรู้แนวทางการป้องกันการตั้งครรภ์ การรักนวลสงวนตัว และการดูแลสุขภาพได้ถูกต้องและเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมรณรงค์ให้ข้อมูลความรู้ จัดทำเอกสาร การเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ /กิจกรรมกลุ่ม สรุปผล/ประเมินผลโครงการและรายงานผล
  2. 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่อง..วัยใส . ใส่ใจรักษ์.. - การปรับตัวเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น - เพศศึกษา - แนวทางการป้องกันการตั้งครรภ์ การรักนวลสงวนตัว และการดูแลสุขภาพได้ถูกต้องและเหมาะสม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียนสามารถปรับตัวเองให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสม
2.นักเรียนรู้จักการเลือกรับข้อมูลที่ถูกต้องและเหมาะสม 3.นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องเพศศึกษา พัฒนาการทางเพศของตนเองสามารถปฏิบัติตนได้ถูกต้องและเหมาะสม 4.นักเรียนมีความรักนวลสงวนตัว รู้วิธีการป้องกันการตั้งครรภ์ และการดูแลสุขภาพของตนเองได้ถูกต้องและเหมาะสม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมรณรงค์ให้ข้อมูลความรู้ จัดทำเอกสาร การเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ /กิจกรรมกลุ่ม สรุปผล/ประเมินผลโครงการและรายงานผล

วันที่ 25 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ค่าวัสดุจัดกิจกรรมรณรงค์ให้ข้อมูลความรู้ ป้ายนิเทศ การเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ /กิจกรรมกลุ่ม..วัยใส . ใส่ใจรักษ์..(20กลุ่มๆละ 3 คน) (ทำสื่อรณรงค์สร้างเสริมความรู้ การป้องกัน ตนเองของกลุ่มวัยใส . ใส่ใจรักษ์..) *วัสดุอุปกรณ์กิจกรรมก่อนอบรม/ขณะอบรม/หลังอบรม   1.กระดาษการ์ดสีจำนวน 1 ห่อๆละ 200 =  200  บาท   2.กระดาษA4จำนวน 1 ห่อๆละ 110  =  110  บาท   3.ปากกาเมจิก(3 สี) 60 ด้ามๆละ 15 บาท = 900  บาท   5.คลิบหนีบ 22 ตัวๆละ 10 บาท  =    220  บาท   6.กระดาษขาวเทา 40 แผ่นๆละ 15 บาท = 600  บาท   7.กรรไกรตัดกระดาษ 20 อันๆละ 15 บาท = 300  บาท   8.กาว UHU Stic 10 หลอดๆละ 40  บาท= 400  บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. นักเรียนสามารถปรับตัวเองให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสม
  2. นักเรียนรู้จักการเลือกรับข้อมูลที่ถูกต้องและเหมาะสม
  3. นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องเพศศึกษา พัฒนาการทางเพศของตนเองสามารถปฏิบัติตนได้ถูกต้องและเหมาะสม
  4. นักเรียนมีความรักนวลสงวนตัว รู้วิธีการป้องกันการตั้งครรภ์ และการดูแลสุขภาพของตนเองได้ถูกต้องและเหมาะสม

 

50 0

2. 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่อง..วัยใส . ใส่ใจรักษ์.. - การปรับตัวเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น - เพศศึกษา - แนวทางการป้องกันการตั้งครรภ์ การรักนวลสงวนตัว และการดูแลสุขภาพได้ถูกต้องและเหมาะสม

วันที่ 25 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

12.30 – 12.40 น      พิธีเปิดการอบรม 12.40 – 12.50 น      กิจกรรมนันทนาการชี้แจงวัตถุประสงค์การอบรม 12.50 – 13.00 น      ทำแบบทดสอบความรู้ก่อนการอบรม 13.00 – 16.20 น      1.บรรยายให้ความรู้เรื่องเพศ /การปรับตัวเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น                                 1.1.การเป็นผู้หญิง – ผู้ชาย ความแตกต่างระหว่างเพศ
                                โดยใช้กิจกรรม ชื่อ หนูเป็นสาวแล้ว ผมก็เป็นหนุ่มแล้ว
                                (จากหนังสือคู่มือการสอนเพศศึกษาสำหรับวัยรุ่นตอนต้น)                                 2.บรรยายเรื่อง
                                2.1 การเปลี่ยนแปลงสรีระร่างกาย                                 2.2เพศศึกษา ( การมีประจำเดือน,การฝันเปียก)                                 การเตรียมตัวเป็นวัยรุ่นตอนต้น                                 2.3.แนวทางการป้องกันการตั้งครรภ์  การรักนวลสงวนตัว และการดูแล
                                สุขภาพได้ถูกต้องและเหมาะสม
                                2.4.กิจกรรมกลุ่ม การทำสื่อรณรงค์ วัยเรียน วัยใส ห่วงใยรักษ์                                 2.5ตอบข้อซักถาม และสรุปกิจกรรม                                 2.6ทำแบบทดสอบหลังอบรม 16.20 -16.30 น.         พิธีปิด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.นักเรียนสามารถปรับตัวเองให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสม
2.นักเรียนรู้จักการเลือกรับข้อมูลที่ถูกต้องและเหมาะสม 3.นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องเพศศึกษา พัฒนาการทางเพศของตนเองสามารถปฏิบัติตนได้ถูกต้องและเหมาะสม 4.นักเรียนมีความรักนวลสงวนตัว รู้วิธีการป้องกันการตั้งครรภ์ และการดูแลสุขภาพของตนเองได้ถูกต้องและเหมาะสม

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากผลการดำเนินโครงการดังกล่าว พบว่าประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี ได้สรุปไว้ดังนี้ 1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี ตั้งแต่เริ่มต้นจนปิดโครงการ 2. วิทยากรให้ความรู้และจัดกิจกรรมที่เหมาะสมสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการและวัยของนักเรียน 3. ร้อยละ 95 ของนักเรียน มีความรู้ความเข้าใจ เรื่องเพศศึกษา การปรับตัวเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น แนวทางการป้องกันการตั้งครรภ์ การรักนวลสงวนตัว และการดูแลสุขภาพได้ถูกต้องและเหมาะสม สรุปผลดังนี้ การเปลี่ยนแปลงทางเพศ ในวัยเด็กตอนปลายมีช่วงอายุ 10-12 ปี จนถึงเข้าสู่วัยรุ่นในช่วงนี้เป็นจุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงทางเพศ ซึ่งเห็นได้อย่างชัดเจน โดยเฉพาะเด็กผู้หญิงจะมีการเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจนและรวดเร็วกว่าเด็กผู้ชาย การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งทางด้าน ร่างกายจิตใจ อารมณ์และสังคม
การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย วัยรุ่นเป็นวัยที่ความเป็นเด็กกำลังจะสิ้นสุดลง และจะเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายอย่างเห็นได้ชัด เป็นวัยที่กำลังเตรียมตัวที่จะเป็นผู้ใหญ่ต่อไป เป็นวัยที่ก้ำกึ่งระหว่างเด็กกับผู้ใหญ่ เป็นวัยที่ก้าวสู่สภาวะทางเพศที่สมบูรณ์ สามารถมีบุตรได้ เด็กผู้ชายจะเข้าสู่วัยรุ่นช้ากว่าเด็กผู้หญิงประมาณ 1-2 ปี กล่าวคือ เด็กผู้ชายจะเริ่มเข้าสู่วัยรุ่นเมื่ออายุประมาณ 13-14 ปี ส่วนเด็กผู้หญิงจะเริ่มเข้าสู่วัยรุ่นเมื่ออายุประมาณ 12-13 ปี วัยนี้เป็นวัยที่คาบเกี่ยวกับวัยเด็กตอนปลาย โรงเรียนบ้านควนตัง ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นจึงจัดทำโครงการให้ความรู้กับนักเรียนในโรงเรียน เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้เรื่องเพศศึกษา พัฒนาการทางเพศของตนเอง รู้แนวทางการป้องกันการตั้งครรภ์ การรักนวลสงวนตัว และการดูแลสุขภาพของตนเองให้สามารถมีภูมิคุ้มกันรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลให้โรงเรียนปิดทำการเรียนการสอนช้ากว่าปกติ คือ เปิดทำการเรียนการสอน ในวันที่ 1กรกฎาคม 2563 เพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงในการแพร่ระบาดของโรค ซึ่งสอดคล้องกันนโยบายของรัฐบาลและสพฐ.อันส่งผลกระทบต่อการดำเนินงานโครงการดังกล่าวข้างต้นไม่เป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด และเมื่อสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(COVID-19) คลี่คลายลง โรงเรียนจึงได้ดำเนินการจัดกิจกรรมตามแผนงาน/โครงการดังกล่าวจนสำเร็จลุล่วง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนสามารถปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ95สามารถปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสม
0.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนรู้จักการเลือกรับข้อมูลที่ถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ95รู้จักการเลือกรับข้อมูลที่ถูกต้องและเหมาะสม
0.00

 

3 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องเพศศึกษา พัฒนาการทางเพศของตนเองได้ถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ95มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องเพศศึกษา พัฒนาการทางเพศของตนเองได้ถูกต้องและเหมาะสม
0.00

 

4 เพื่อให้นักเรียนรู้แนวทางการป้องกันการตั้งครรภ์ การรักนวลสงวนตัว และการดูแลสุขภาพได้ถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ100 รู้แนวทางการป้องกันการตั้งครรภ์ การรักนวลสงวนตัว และการดูแลสุขภาพได้ถูกต้องและเหมาะสม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนสามารถปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสม (2) เพื่อให้นักเรียนรู้จักการเลือกรับข้อมูลที่ถูกต้องและเหมาะสม (3) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องเพศศึกษา พัฒนาการทางเพศของตนเองได้ถูกต้องและเหมาะสม (4) เพื่อให้นักเรียนรู้แนวทางการป้องกันการตั้งครรภ์  การรักนวลสงวนตัว และการดูแลสุขภาพได้ถูกต้องและเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรณรงค์ให้ข้อมูลความรู้ จัดทำเอกสาร  การเผยแพร่  ประชาสัมพันธ์  /กิจกรรมกลุ่ม  สรุปผล/ประเมินผลโครงการและรายงานผล (2) 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่อง..วัยใส . ใส่ใจรักษ์..          -  การปรับตัวเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น          -  เพศศึกษา          - แนวทางการป้องกันการตั้งครรภ์  การรักนวลสงวนตัว และการดูแลสุขภาพได้ถูกต้องและเหมาะสม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการวัยใส ใส่ใจรัก

รหัสโครงการ 63-L1528-2-05 ระยะเวลาโครงการ 1 มิถุนายน 2563 - 28 สิงหาคม 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการวัยใส ใส่ใจรัก จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L1528-2-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวรัตนา สุขขี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด