กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียนเทศบาล 2 (บ้านมลายูบางกอก) ประเภทที่ 2 ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายธีรพัฒน์ ง๊ะสมัน ผู้อำนวยการสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล 2 (บ้านมาลายูบางกอก)

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียนเทศบาล 2 (บ้านมลายูบางกอก) ประเภทที่ 2

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63 – L7452 – 2 - 27 เลขที่ข้อตกลง 49-2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียนเทศบาล 2 (บ้านมลายูบางกอก) ประเภทที่ 2 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียนเทศบาล 2 (บ้านมลายูบางกอก) ประเภทที่ 2



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียนเทศบาล 2 (บ้านมลายูบางกอก) ประเภทที่ 2 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 63 – L7452 – 2 - 27 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,906.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาพร่องทางโภชนาการในเด็กวัยเรียนเป็นปัญหาที่หลายคนมองข้าม ซึ่งมีสาเหตุมาจากพฤติกรรมการกินของแต่ละบุคคล ผลการวิจัยพบว่าเด็กที่มีภาวะผอม เตี้ย เกิดจากการขาดสารอาหารเรื้อรังมาเป็นเวลานาน ทำให้เกิดภูมิต้านทานต่ำและเกิดโรคแทรกซ้อนได้มากกว่าเด็กที่มีภาวะโภชนาการเหมาะสม ถูกต้อง ภาวะพร่องทางโภชนาการผอม เตี้ย จึงเป็นตัวก่อให้เกิดปัญหาและส่งผลต่อพัฒนาการตั้งแต่เริ่มแรกของเด็ก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการเรียนรู้ ภาวะโภชนาการจึงมีความสำคัญในการส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาการในวัยเด็ก ซึ่งข้อมูลในระดับประเทศพบว่า เด็กไทยมีภาวะพร่องทางโภชนาการผอม เตี้ย เป็นจำนวนมาก ซึ่งมีสาเหตุมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ได้สัดส่วนและปริมาณที่ไม่เหมาะสมตามวัย ตลอดจนค่านิยมในการบริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป ทั้งสภาพสังคม พฤติกรรม ตลอดจนความใส่ใจและความตระหนักของผู้ปกครองในการให้เด็กรับประทานอาหารเช้าที่มีประโยชน์และมีคุณค่าทางโภชนาการ
การดำเนินการแก้ไขปัญหาเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการถือเป็นหน้าที่ของโรงเรียนที่จะต้องดำเนินการแก้ไขปัญหาซึ่งเป็นไปตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 หมวด 1 บททั่วไปความมุ่งหมายและหลักการ มาตรา ๖ การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และ คุณธรรมมีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้ได้อย่างมีความสุข ประกอบกับข้อมูลผลการดำเนินงานอนามัยโรงเรียน ในโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครยะลา จากการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กประถมศึกษา ชั้น 1-6 ของโรงเรียนเทศบาล 2 เทศบาลนครยะลา ปีงบประมาณ 2562 ซึ่งมีเด็กนักเรียนจำนวนทั้งสิ้น 447 คน พบว่า มีเด็กอ้วน จำนวน 12 คน (คิดเป็นร้อยละ 2.7)เด็กผอม จำนวน 33 คน (คิดเป็นร้อยละ 7.4) เด็กเตี้ย จำนวน 18 คน (คิดเป็นร้อยละ 4.0) เด็กสูงดีและรูปร่างสมส่วน จำนวน 291 คน (คิดเป็นร้อยละ 65.1) จากข้อมูลดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า โรงเรียนยังพบกับปัญหาภาวะทุพโภชนาการของเด็ก ทั้งเด็กผอม อ้วน และเตี้ย ซึ่งภาวะทุพโภชนาการของเด็กกลุ่มนี้อาจส่งผลต่อพัฒนาการ การเรียนรู้ และการเจริญเติบโตของร่างกายได้ จากข้อมูลและสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นโรงเรียนเทศบาล 2 (บ้านมาลายูบางกอก) เทศบาลนครยะลา ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการแก้ไขปัญหาเด็กอ้วน ผอม และเตี้ยดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียนเทศบาล 2 (บ้านมาลายูบางกอก) ขึ้น เพื่อให้เด็ก ผู้ปกครอง ครูและผู้ที่เกี่ยวข้องมีความรู้ และมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็ก เพื่อทำให้เด็กมีความสมบูรณ์ทั้งทางร่างกายและจิตใจ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ และความสามารถของครู แม่ครัว นักเรียน และผู้ปกครองในการดูแลเด็กนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการผอมและเตี้ย
  2. เพื่อพัฒนาระบบการบริหารจัดการอาหารในโรงเรียนให้มีคุณภาพสามารถแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนให้มีรูปร่างดีสมส่วน
  3. เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและครอบครัวในการปรับพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการของนักเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงานโครงการ
  2. ฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการและผลกระทบจากภาวะโภชนาการ
  3. จัดกิจกรรมทางกายให้เด็กนักเรียน
  4. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และคืนข้อมูล เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ คืนข้อมูลผู้ปกครอง พร้อมเชิดชูครอบครัวต้นแบบที่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการเด็กผอมได้สำเร็จ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 63
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. โรงเรียนมีคณะทำงานที่มีความรู้ความเข้าใจเเละสามารถดำเนินโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  2. นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้เเละตระหนักเรื่องภาวะโภชนาการ โดยหันมาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร จนส่งผลให้ภาวะทุพโภชนาการเด็กลดลง
    1. โรงเรียนมีข้อมูลปัญหา อุปสรรคเชิงลึกของเด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการจากครูประจำชั้น เเละผลสำเร็จจากการทำโครงการ นำมาแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการเด็กนักเรียนแบบมีส่วนร่วมจากผู้ที่เกี่ยวข้อง
  3. โรงเรียนมีครอบครัวต้นแบบที่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการเด็กผอมได้สำเร็จ
  4. โรงเรียนมีเมนูอาหารที่เหมาะกับบริบทพื้นที่ตามโปรแกรม Thai School Lunch และระบบการจัดการอาหารอย่างเป็นระบบ ทำให้เด็กได้รับอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเสริมสร้างความรู้ และความสามารถของครู แม่ครัว นักเรียน และผู้ปกครองในการดูแลเด็กนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการผอมและเตี้ย
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของเด็กนักเรียนและผู้ปกครองเด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ (ผอม เตี้ย) เข้าร่วมการอบรม 2. ร้อยละ 80 ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการเพิ่มขึ้น
0.00

 

2 เพื่อพัฒนาระบบการบริหารจัดการอาหารในโรงเรียนให้มีคุณภาพสามารถแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนให้มีรูปร่างดีสมส่วน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 นักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้สามารถบริโภคตามหลักโภชนาการได้อย่างถูกต้องและมีคุณภาพ จนส่งผลให้ภาวะทุพโภชนาการเด็กลดลง
0.00

 

3 เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและครอบครัวในการปรับพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการของนักเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 63
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 63
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างความรู้ และความสามารถของครู แม่ครัว นักเรียน และผู้ปกครองในการดูแลเด็กนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการผอมและเตี้ย (2) เพื่อพัฒนาระบบการบริหารจัดการอาหารในโรงเรียนให้มีคุณภาพสามารถแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนให้มีรูปร่างดีสมส่วน (3) เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและครอบครัวในการปรับพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการของนักเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานโครงการ (2) ฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการและผลกระทบจากภาวะโภชนาการ (3) จัดกิจกรรมทางกายให้เด็กนักเรียน (4) ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และคืนข้อมูล เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ คืนข้อมูลผู้ปกครอง พร้อมเชิดชูครอบครัวต้นแบบที่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการเด็กผอมได้สำเร็จ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเสริมสุขภาพแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียนเทศบาล 2 (บ้านมลายูบางกอก) ประเภทที่ 2 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63 – L7452 – 2 - 27

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายธีรพัฒน์ ง๊ะสมัน ผู้อำนวยการสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล 2 (บ้านมาลายูบางกอก) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด