กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
รหัสโครงการ 63-L3002-02-11
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลตรัง
วันที่อนุมัติ 10 ตุลาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 10 มีนาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 31 สิงหาคม 2563
งบประมาณ 20,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวสิริอร ทับนิล
พี่เลี้ยงโครงการ ว่าที่ ร.ต.บัณฑิต รักการดี
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตรัง อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 10 มี.ค. 2563 31 ส.ค. 2563 10 มี.ค. 2563 31 ส.ค. 2563 20,000.00
รวมงบประมาณ 20,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 505 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากผลการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไปในปี 2562 ของตำบลตรัง จำนวน838 คนคิดเป็นร้อยละ81.9พบมีประชาชนที่คัดกรองจัดอยู่ในกลุ่มเสี่ยงจำนวน369คนคิดเป็นร้อยละ36.5และกลุ่มสงสัยต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงจำนวน136คนคิดเป็นร้อยละ 13.5 จากผลการคัดกรองโรคเบาหวานในกลุ่มประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไปในปี 2562 ของตำบลตรังจำนวน 1030 คนคิดเป็นร้อยละ95.9พบมีประชาชนที่คัดกรองจัดอยู่ในกลุ่มเสี่ยงจำนวน 103 คนคิดเป็นร้อยละ10.7 และกลุ่มสงสัยต่อการเกิดโรคเบาหวานจำนวน16 คนคิดเป็นร้อยละ 1.5 ซึ่งสาเหตุของปัญหา มีดังนี้ 1.การรับประทานอาหารทีมีรสหวาน มัน เค็ม 2.ขาดความตระหนักในการปรับเปลียนพฤติกรรม ที่ถูกต้อง จากสถานการณ์ปัญหาดังกล่าว ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลตรังได้ตระหนักถึงความสำคัญของภาวะสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการติดตามและเฝ้าระวังประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงตำบลตรัง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อศึกษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปฎิบัติตัวของประชาชนในขณะป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรั้ง

1.ร้อยละ 20 ของกลุ่มเป้าหมาย สามารถควบคุมค่าน้ำตาลในเลือด และค่าความดันโลหิต อยู่ในเกณฑ์ ปกติ 3 ครั้งติดต่อกัน

101.00
2 2.เพื่อสร้างความตระหนักในการรับรู้ภาวะของโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน

1.มีการบันทึกผลค่าน้ำตาลในเลือด และค่าความดันโลหิต 10 ครั้ง ภานใน  5 เดือน

369.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 253 20,000.00 4 45,000.00
10 มี.ค. 63 - 31 ส.ค. 63 1.จัดทำฐานข้อมูลเพื่อรองรับการดำเนินงาน 20 20,000.00 20,000.00
18 มี.ค. 63 - 31 ส.ค. 63 2.การศึกษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 222 0.00 0.00
15 เม.ย. 63 - 31 ส.ค. 63 3.การพัฒนาคุณภาพคลินิกบริการ 11 0.00 0.00
1 ก.ย. 64 การคัดกรองโรคเรื้อรังแบบเชิงรุกในชุมชนของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย 0 0.00 25,000.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.มีการศึกษาและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรั้ง
2.ระดับน้ำตาลในเลือดของกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยด้วยโรคเบาหวานสามารควบคุมให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
3.ระดับความดันโลหิตของกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
4.มีคลินิกบริการโรคความดันเบาหวาน อย่างมีคุณภาพ 5.มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างยังยืน และสอดคล้องกับวิถีชีวิตชุมชนตำบลตรัง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 ก.พ. 2563 00:00 น.