กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด


“ โครงการ ลด ละ เลิกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ บุหรี่ ต.คลองขุด ”

ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายชัยณรงค์ ไชยจิตต์

ชื่อโครงการ โครงการ ลด ละ เลิกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ บุหรี่ ต.คลองขุด

ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5300-63-2-16 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 สิงหาคม 2563 ถึง 30 พฤศจิกายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ลด ละ เลิกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ บุหรี่ ต.คลองขุด จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ลด ละ เลิกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ บุหรี่ ต.คลองขุด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ลด ละ เลิกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ บุหรี่ ต.คลองขุด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L5300-63-2-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 สิงหาคม 2563 - 30 พฤศจิกายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 54,480.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

“สุขภาวะ” เกี่ยวข้องกับทั้งเรื่องของร่างกายจิตใจสังคมและปัญญามากกว่าที่จะมองถึงเรื่องการเจ็บป่วยและการให้ความสำคัญต่อการป้องกันและรักษาโรคด้วยยาวัคซีน เครื่องไม้เครื่องมือและเทคโนโลยีทางการแพทย์ดังนั้นคนที่มีสุขภาวะคือคนที่มีสุขภาพดี (Right to Health) ซึ่งเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานตามหลักสิทธิมนุษยชนสากลและตาม พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 หลายมาตรา เช่น บุคคลมีสิทธิดำรงชีวิตในสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพดังนั้น สุขภาวะที่ดีนั้นต้องมาจากสิ่งแวดล้อมที่ดีด้วยการจัดการทรัพยากรธรรมชาติโดยองค์กรของชุมชนจึงเป็นแนวทางหนึ่งที่นำไปสู่การสร้างสุขภาวะที่ดีของชุมชน ด้วยพฤติกรรมการดื่มสุราฯของประชากรในปี 2561 พบว่าในจำนวนประชากรอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป 54.8 ล้านคน เป็นผู้ดื่มสุราในรอบ 12 เดือนที่แล้วประมาณ 17.7 ล้านคน (ร้อยละ32.3) โดยผู้ชายมีอัตราการดื่มสุราฯ สูงกว่าหญิงประมาณ 4 เท่า กลุ่มวัยทำงาน (25-59 ปี) มีอัตราการดื่มสุราฯ สูงกว่ากลุ่มอื่น (ร้อยละ 38.2) และมีข้อสังเกตว่ากลุ่มผู้สูงวัยที่ดื่มสุราสูงถึงร้อยละ 18.4เมื่อพิจารณาถึงความบ่อยครั้งของการดื่มสุราฯ พบว่าร้อยละ 57.6 เป็นผู้ที่ดื่มนานๆ ครั้ง ร้อยละ 42.4 เป็นผู้ที่ดื่มสม่ำเสมอ เมื่อพิจารณาความถี่หรือความบ่อยครั้งในการดื่มของกลุ่มผู้ที่ดื่มสม่ำเสมอนั้น พบว่าเป็นผู้ที่ดื่ม 5 วันต่อสัปดาห์ขึ้นไปถึงร้อยละ 38.3 ซึ่งในกลุ่มนี้เป็นผู้ที่ดื่มทุกวันสูงถึงร้อยละ 26.2 สถานการณ์การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และปัจจัยเสี่ยงตำบลคลองขุด ปัจจุบันนี้เด็กและเยาวชนในตำบลคลองขุดมีพฤติกรรมความเสี่ยงมากมาย เช่น การมั่วสุมยาเสพติด (น้ำกระท่อม) ,ท้องไม่พร้อมของเยาวชนดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เยาวชนและผู้ใหญ่สูบบุหรี่ อายุ 15-60 ปี การขับขี่รถจักยานยนต์ไม่สวมหมวกนิรภัย ขับรถฝ่าฝืนกฎหมายจราจร แต่ละหมู่บ้านในตำบลคลองขุดเด็กและเยาวชนขาดการรวมกลุ่มในการทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมขาดพื้นที่ทำกิจกรรม ขาดงบประมาณทำกิจกรรมพฤติกรรมของผู้ใหญ่มีการรวมตัวตั้งวงดื่มเหล้า ไม่ค่อยสนใจงานเพื่อสังคมในชุมชนของตนเอง ทางด้านสังคม เช่น ไม่รวมกลุ่มเล่นกีฬา,ไม่รวมกลุ่มจัดกิจกรรม เป็นสาเหตุหรือปัจจัยหลักสำคัญที่ทำให้เกิดการรวมกลุ่มทั้งด้านพฤติกรรมความเสี่ยง
จากข้อมูลสถานการณ์การในตำบลคลองขุด จำนวนครัวเรือนตำยลคลองขุด 8,975 หลังประชากรทั้งหมด 20,258 คน ชาย 10,462คน หญิง 9,796คน คนที่ดื่มเหล้าทั้งหมดในชุมชนประมาณ3,040 คนที่ดื่มประจำประมาณ 315 คนดื่มเป็นครั้งคราวประมาณ 2,725 คนโดยแยกเป็นชุมชนดังนี้ หมู่ที่ 1 บ้านเขาจีน จำนวนครัวเรือนชุมชนบ้านเขาจีน 1,395 หลัง ประชากรทั้งหมด4,165 คน ชาย 2,102คน หญิง2063 คน คนที่ดื่มเหล้าทั้งหมดในชุมชนประมาณ540 คนทีดื่มประจำประมาณ 40 คนดื่มเป็นครั้งคราวประมาณ 500 คน หมู่ที่ 2 บ้านท่าจีน จำนวนครัวเรือนชุมชนบ้านท่าจีน981หลัง ประชากรทั้งหมด1,800 คนชาย 870คน หญิง930 คน คนที่ดื่มเหล้าทั้งหมดในชุมชนประมาณ300 คนทีดื่มประจำประมาณ 35 คนดื่มเป็นครั้งคราวประมาณ 265 คน หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก จำนวนครัวเรือนชุมชนบ้านเกาะนก 692 หลังประชากรทั้งหมด1,961 คน ชาย 1,001คน หญิง960 คน คนที่ดื่มเหล้าทั้งหมดในชุมชนประมาณ300 คนทีดื่มประจำประมาณ 30 คนดื่มเป็นครั้งคราวประมาณ 270 คน หมู่ที่ 4 บ้านคลองขุด จำนวนครัวเรือนชุมชนบ้านคลองขุด2,365 หลัง ประชากรทั้งหมด4,318 คน ชาย2,081 คน หญิง 2,237 คน คนที่ดื่มเหล้าทั้งหมดในชุมชนประมาณ 800 คนทีดื่มประจำประมาณ 80 คนดื่มเป็นครั้งคราวประมาณ 720 คน หมู่ที่ 5 บ้านนาแค จำนวนครัวเรือนชุมชนบ้านนาแค 372 หลัง ประชากรทั้งหมด1,325 คน ชาย 674คน หญิง651 คน คนที่ดื่มเหล้าทั้งหมดในชุมชนประมาณ200 คนทีดื่มประจำประมาณ 30 คนดื่มเป็นครั้งคราวประมาณ 170 คน หมู่ที่ 6 บ้านวัดหน้าเมือง จำนวนครัวเรือนชุมชนบ้านวัดหน้าเมือง 1,561 หลัง ประชากรทั้งหมด3,212 คน ชาย 2,029คนหญิง1,183 คน คนที่ดื่มเหล้าทั้งหมดในชุมชนประมาณ400 คนทีดื่มประจำประมาณ 30 คนดื่มเป็นครั้งคราวประมาณ 370 คน หมู่ที่ 7 บ้านคลองขุดเหนือ จำนวนครัวเรือนชุมชนบ้านคลองขุดเหนือ 1,607 หลัง ประชากรทั้งหมด3,428 คน ชาย 1,675คน หญิง1,753 คน คนที่ดื่มเหล้าทั้งหมดในชุมชนประมาณ500 คนที่ดื่มประจำประมาณ 70 คนดื่มเป็นครั้งคราวประมาณ 430 คน

แหล่งที่มาของข้อมูลครัวเรือนและข้อมูลประชากร จาก งานทะเบียนราษฎร์ เทศบาลตำบลคลองขุด ณ เดือน มีนาคม2563 แหล่งที่มาของข้อมูลการดื่มเหล้าจาก การสำรวจโดยคณะทำงานงดเหล้าเข้าพรรษาทั้ง 7 หมู่บ้าน ภายใต้ เครือข่ายองค์กรงดเหล้า จ.สตูล

ดังนั้นจากปัญหาที่กล่าวมาข้างต้นในแต่ละประเด็นดังกล่าวจึงต้องมีการแก้ไขปัญหาพฤติกรรมเสี่ยงของคนในชุมชน โดยการเปิดพื้นที่ให้ความรู้เท่าทันเรื่องของเหล้า บุหรี่ ปัจจัยเสี่ยงต่างฯโดยใช้ช่วงสำคัญของวันเข้าพรรษาเชิญชวน ลด ละเลิก เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทุกชนิด บุหรี่ หรือสิ่งเสพติดต่างๆ หรือใช้หลักการของศาสนาช่วงงดเหล้าเข้าพรรษามาช่วยแก้ไขกับการให้ความรู้ สร้างแกนนำกลุ่มแต่ละหมู่บ้าน สนับสนุนให้กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมงดเหล้าเข้าพรรษามีกิจกรรม ช่วย ชม เชียร์ โดยรูปแบบการให้กำลังใจซึ่งกันและกันเพื่อให้อยู่ครบพรรษาจำนวน 3 ครั้ง ก่อน กลาง หลัง กิจกรรมน้องเยาวชนชวนผู้ปกครองงดเหล้าเข้าพรรษากับทำความดีทุกวันอาทิตย์ กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์กิจกรรมรักษ์สิ่งแวดล้อมในชุมชนกิจกรรมหล่อเทียน กิจกรรมเก็บข้อมูลคนดื่มคนสูบ กิจกรรมเชิดชูคนหัวใจหิน คนหัวใจเหล็ก คนหัวใจเพชร กิจกรรมงานศพ งานแต่งปลอดเหล้า จากการทำกิจกรรมแต่ละครั้งมีการสรุปงานเพื่อปรับปรุง ต้องมีแหล่งทุนขับเคลื่อนงานส่งเสริมกิจกรรมให้กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง พร้อมทั้งได้รับการพัฒนาศักยภาพที่เหมาะสมจะช่วยสนับสนุนให้เกิดกลไกการกระจายโอกาสแก่กลุ่มที่เข้าร่วมงดเหล้าเข้าพรรษาและงดบุหรี่และผู้ใหญ่ที่เข้าร่วมโครงการ ทำให้เกิดเครือข่ายการดำเนินงานและแกนนำรายใหม่แต่ละพื้นที่ รวมถึงการเชื่อมภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องชุมชน ซึ่งจะนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ที่เข้าร่วมงดเหล้าเข้าพรรษา งดบุหรี่ในพื้นทีตำบลคลองขุดที่เอื้อต่อสุขภาวะต่อไป
เพื่อให้เกิดความยังยืนในการขับเคลื่อนงาน สู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และบุหรี่ในระดับพื้นที่จำเป็นอย่างยิ่งที่จำเป็นจะต้องมีแกนนำชุมชนแต่ละหมู่บ้าน โดยมีผู้นำศาสนา(พระ) เป็นที่ปรึกษาหรือผู้นำชุมชนมีแกนนำเยาวชนแต่ละหมู่บ้านที่เป็นผู้ดำเนินงาน ทำให้เกิดชมรมคนหัวใจเพชร โดยกิจกรรมทำกับกลุ่มเป้าหมายผู้ที่มีอายุ 15- 70 ปี ทั้ง 7 หมู่บ้านของตำบลคลองขุดเพื่อสร้างเครือข่ายชุมชน งดเหล้าเข้าพรรษา สร้างกลุ่มแกนนำเยาวชนอายุ 14-20 ปี จำนวน 35 คน เพื่อให้มีจิตอาสาพัฒนาศักยภาพแกนชุมชนกับคนหัวใจเพชรเพื่อจัดตั้งชมรมคนหัวใจเพชรของตำบลคลองขุด ฝึกอบรมการเก็บข้อมูล ฝึกการเป็นผู้นำ ทั้งหมดที่กล่าวมานี้เพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน ความตระหนักความเข้าใจโทษภัยของปัจจัยเสี่ยงต่างฯ เหล้า บุหรี่ให้กับผู้ที่เข้าร่วมงดเหล้าเข้าพรรษาของตำบลคลองขุดทั้งเด็ก เยาวชน และผู้ปกครองทั้ง 7 พื้นที่ ทั้งนี้ด้วยต้นทุนด้านศักยภาพของทีมงาน (ชมรมคนหัวใจเพชรตำบลคลองขุด) ประสบการณ์การบริหารจัดการโครงการ และเครือข่ายการดำเนินงานร่วมกับภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมงดเหล้าเข้าพรรษา อาทิเช่น /พมจ.สตูล/สสจ.สตูล /ปภ.สตูล ,เทศบาลตำบลคลองขุด /วัด / มัสยิด/ อำเมืองสตูล /สสอ.เมืองสตูล/รวมทั้งการทำงานร่วมกับคณะทำงานชมรมคนหัวใจเพชรตำบลคลองขุด จะสามารถช่วยสนับสนุนและผลักดันให้โครงการสามารถดำเนินการตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ได้ ทางชมรมคนหัวใจเพชรตำบลคลองขุด มองเห็นปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และการสูบบุหรี่ของคนในชุมชนกับเด็กและเยาวชนกลุ่มเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในภายภาคหน้าจึงอยากทำให้เกิดพื้นที่นำร่องลดปัจจัยเสี่ยง เหล้า บุหรี่ พื้นที่ตำบลคลองขุด จึงเกิดโครงการลด ละ เลิกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และบุหรี่ ตำบลคลองขุดขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน
  2. เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของผู้ใหญ่
  3. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ที่ต้องการลด ละ และเลิกดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
  4. เพื่อลดอัตราการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไป
  5. เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเก็บข้อมูลและติดตามพฤติกรรมผู้เข้าร่วมงดเหล้าเข้าพรรษา และ ลด ละ เลิกบุหรี่
  2. กิจกรรมประชุมชี้แจง วางแผนการดำเนินโครงการให้คณะทำงานชมรมคนหัวใจเพชรตำบลคลองขุด
  3. กิจกรรมประชุมทำความเข้าใจผู้นำศาสนาพุทธ อิสลาม และคณะทำงานชมรมคนหัวใจเพชรตำบลคลองขุด
  4. กิจกรรม อบรมกฎหมาย พรบ.เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และ พรบ.ยาสูบ และการเก็บข้อมูล
  5. กิจกรรมอบรมเยาวชนรณรงค์เชิญชวนงดเหล้าเข้าพรรษา และลด ละ เลิกบุหรี่
  6. กิจกรรมช่วยชมเชียร์ระหว่างพรรษา
  7. กิจกรรมสรุปถอดบทเรียน งดเหล้าเข้าพรรษา และลด ละ เลิกบุหรี่
  8. กิจกรรมเชิดชูคนงดเหล้าครบพรรษา และลด ละ เลิกบุหรี่
  9. กิจกรรมเวทีคืนข้อมูลให้กับหน่วยงานและชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 35
กลุ่มวัยทำงาน 500
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
แกนนำดำเนินกิจกรรม 35

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลผลิต - มีพื้นที่ต้นแบบ จำนวน 7 พื้นที่ - มีผู้ลงนามปฎิญาญตนงดเหล้าเข้าพรรษา ไม่น้อยกว่า 210 คน
- มีผู้เข้าร่วมงดเหล้าเข้าพรรษา ลด ละ เลิกบุหรี่ ไม่น้อยกว่า 210 คน อยู่ครบพรรษาไม่น้อยกว่า 80 คน - วัดเข้าร่วมงดเหล้าเข้าพรรษา 1 วัด
ผลลัพธ์ 1.สามารถลดจำนวนผู้ดื่มเหล้าและผู้สูบบุหรี่ในตำบลคลองขุดได้ และมีบุคคลต้นแบบในชุมชนในการ ลด ละ เลิก เหล้า บุหรี่ 2.สามารถลดจำนวนผู้ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปีได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมเก็บข้อมูลและติดตามพฤติกรรมผู้เข้าร่วมงดเหล้าเข้าพรรษา และ ลด ละ เลิกบุหรี่

วันที่ 1 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

มีการเก็บข้อมูลและติดตามพฤติกรรมผู้เข้าร่วมงดเหล้าเข้าพรรษา และ ลด ละ เลิกบุหรี่  จำนวน 210 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต เก็บข้อมูลและติดตามพฤติกรรมผู้เข้าร่วมงดเหล้าเข้าพรรษา และ ลด ละ เลิกบุหรี่  จำนวน 210 คน
ผลลัพธ์ คณะทำงานชมรมคนหัวใจเพชรตำบลคลองขุดสามารถนำข้อมูลและติดตามพฤติกรรมผู้เข้าร่วมงดเหล้าเข้าพรรษา และ ลด ละ เลิกบุหรี่มาใช้เป็นฐานข้อมูลในการจัดทำโครงการได้

 

210 0

2. กิจกรรมประชุมชี้แจง วางแผนการดำเนินโครงการให้คณะทำงานชมรมคนหัวใจเพชรตำบลคลองขุด

วันที่ 14 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมประชุมชี้แจง วางแผนการดำเนินโครงการให้คณะทำงานชมรม      คนหัวใจเพชรตำบลคลองขุด จำนวน  35 คน จำนวน 1 ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต มีการประชุมชี้แจง วางแผนการดำเนินโครงการให้คณะทำงานชมรมคนหัวใจเพชรตำบลคลองขุด จำนวน  35 คน จำนวน 1 ครั้ง
ผลลัพธ์ ชมรมคนหัวใจเพชรตำบลคลองขุดเข้าใจแนวทางการดำเนินงานตามโครงการ

 

35 0

3. กิจกรรมประชุมทำความเข้าใจผู้นำศาสนาพุทธ อิสลาม และคณะทำงานชมรมคนหัวใจเพชรตำบลคลองขุด

วันที่ 22 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

. กิจกรรมประชุมทำความเข้าใจผู้นำศาสนาพุทธ อิสลาม และคณะทำงานชมรมคนหัวใจเพชรตำบลคลองขุด จำนวน  40 คน จำนวน 1 ครั้ง
- เพื่อหาผู้เข้าร่วมงดเหล้าเข้าพรรษา และ ลด ละ เลิกบุหรี่
- เพื่อวางแผนกิจกรรมรณรงค์ในพื้นที่ - เพื่อค้นหาคนหัวใจเพชรในพื้นที่ - เพื่อจัดทำข้อมูลเข้าพรรษา และ ข้อมูลบุหรี่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต มีการประชุมทำความเข้าใจผู้นำศาสนาพุทธ อิสลาม และคณะทำงานชมรมคนหัวใจเพชรตำบลคลองขุด จำนวน  40 คน จำนวน 1 ครั้ง ผลลัพธ์ ผู้นำศาสนาพุทธ อิสลาม และคณะทำงานชมรมคนหัวใจเพชรตำบลคลองขุดมีความเข้าใจการดำเนินงานตามโครงการเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

40 0

4. กิจกรรม อบรมกฎหมาย พรบ.เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และ พรบ.ยาสูบ และการเก็บข้อมูล

วันที่ 20 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรม อบรมกฎหมาย พรบ.เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และ พรบ.ยาสูบ และการเก็บข้อมูล  (คณะทำงานชมรมคนหัวใจเพชรตำบลคลองขุดและร้านค้าชุมชน รวม 35 คน)  จำนวน 1 ครั้ง - เพื่อให้ความรู้เรื่องอบรมกฎหมาย พรบ.เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และ พรบ.ยาสูบให้แก่ร้านค้า และการบังคับกฎหมายอย่างจริงจัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต คณะทำงานชมรมคนหัวใจเพชรตำบลคลองขุดและร้านค้าชุมชน รวม 35 คน ได้รับการอบรมกฎหมาย พรบ.เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และ พรบ.ยาสูบ และการเก็บข้อมูล ผลลัพธ์ คณะทำงานชมรมคนหัวใจเพชรตำบลคลองขุดและร้านค้าชุมชน มีความรู้เรื่องกฎหมาย พรบ.เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และ พรบ.ยาสูบ และการเก็บข้อมูล

 

38 0

5. กิจกรรมอบรมเยาวชนรณรงค์เชิญชวนงดเหล้าเข้าพรรษา และลด ละ เลิกบุหรี่

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมอบรมเยาวชน เชิญชวนงดเหล้าเข้าพรรษา และลด ละ เลิกบุหรี่  โดยเยาวชนทั้ง 7 หมู่บ้านๆ ละ 5 คน  รวม 35 คน (คณะทำงานและวิทยากร จำนวน 7 คน)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต เยาวชนทั้ง 7 หมู่บ้านๆ ละ 5 คน  รวม 35 คน
ผลลัพธ์ เยาวชนทั้ง 7 หมู่บ้านๆ ละ 5 คน  รวม 35 คน ได้รับความรู้เรื่องเหล้าและบุหรี่

 

35 0

6. กิจกรรมสรุปถอดบทเรียน งดเหล้าเข้าพรรษา และลด ละ เลิกบุหรี่

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมสรุปถอดบทเรียน  งดเหล้าเข้าพรรษา  และลด ละ เลิกบุหรี่                                                                            - เชิญผู้งดเหล้าครบพรรษา ผู้ที่อยู่ไม่ครบพรรษา คนหัวเหล็ก คนหัวใจเพชร แกนนำพี่เลี้ยง ทั้ง 7 หมู่บ้านๆ ละ 4 คน  มาถอดบทเรียน เพื่อนำเสนอผลการดำเนินงาน แลกเปลี่ยนแนวคิด  ปัญหาอุปสรรคการดำเนินงาน  ข้อเสนอแนะ และการสานต่อโครงการในระยะถัดไปที่ดำเนินงานเรื่อง “งดเหล้าเข้าพรรษา” เพื่อจะได้ทำร่วมกันต่อไป                                                                                                - ค้นหาและถอดบทเรียนโครงการตัวอย่างกิจกรรมสร้างสรรค์ที่มีรูปแบบ กระบวนการหรือมีผลงานที่โดดเด่นน่าสนใจ เพื่อเป็นตัวอย่างการดำเนินงานและเผยแพร่ผ่านสื่อสาธารณะ อย่างน้อย 2 พื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต ผู้งดเหล้าครบพรรษา ผู้ที่อยู่ไม่ครบพรรษา คนหัวเหล็ก คนหัวใจเพชร แกนนำพี่เลี้ยง จำนวน 7 หมู่บ้านๆ ละ 4 คน รวม 28 คน ผลลัพธ์ ผู้งดเหล้าครบพรรษา ผู้ที่อยู่ไม่ครบพรรษา คนหัวเหล็ก คนหัวใจเพชร แกนนำพี่เลี้ยงถอดบทเรียน เพื่อนำเสนอผลการดำเนินงาน แลกเปลี่ยนแนวคิด  ปัญหาอุปสรรคการดำเนินงาน  ข้อเสนอแนะ และการสานต่อโครงการในระยะถัดไปที่ดำเนินงานเรื่อง “งดเหล้าเข้าพรรษา” เพื่อจะได้ทำร่วมกันต่อไป

 

33 0

7. กิจกรรมช่วยชมเชียร์ระหว่างพรรษา

วันที่ 26 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมช่วยชมเชียร์ระหว่างพรรษา 7 หมู่บ้าน ๆ ละ 1 ครั้ง รวม 7 ครั้ง หมู่บ้านละ 30 คน คณะทำงาน 5 คน รวม 35 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต ตัวแทนจากหมู่บ้าน 7 หมู่บ้าน ๆ  ละ 30 คน
คณะทำงาน 5 คน
รวม 35 คน ผลลัพธ์ -ผู้ที่เข้าร่วมงดเหล้า และลด ละ เลิกบุหรี่ได้รับกำลังใจ ได้เล่าประสบการณ์ การดื่มเหล้าและสูบบุหรี่ที่ผ่านมา พร้อมหารือการตั้งกฎระเบียบงานศพปลอดเหล้าในวัดพิทักษ์คลองขุด -ผู้งดเหล้าครบพรรษา หลังออกพรรษาได้รับกำลังใจเชียร์ให้มีการงดเหล้าต่อเนื่อง พร้อมแลกเปลี่ยนประสบการณ์งดเหล้า งดบุหรี่  ช่วงเข้าพรรษาก่อนออกพรรษา

 

210 0

8. กิจกรรมเชิดชูคนงดเหล้าครบพรรษา และลด ละ เลิกบุหรี่

วันที่ 26 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมเชิดชูคนงดเหล้าครบพรรษา และลด ละ เลิกบุหรี่                                                                –ประกาศยกย่องบุคคลต้นแบบยกย่องให้กำลังใจที่งดเหล้าอยู่ครบพรรษาช่วง 3 เดือน                                                                                            - มอบเกียรติบัตรให้คนที่งดเหล้าครบพรรษา, คนลด ละ เลิกบุหรี่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต กลุ่มเป้าหมาย (ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ) 80 คน คณะทำงานฯ 35 คน รวม 115 คน ผลลัพธ์ กลุ่มเป้าหมายได้รับการยกย่องบุคคลต้นแบบและให้กำลังใจที่งดเหล้าอยู่ครบพรรษาช่วง 3 เดือน

 

210 0

9. กิจกรรมเวทีคืนข้อมูลให้กับหน่วยงานและชุมชน

วันที่ 30 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

. กิจกรรมเวทีคืนข้อมูลให้กับหน่วยงานและชุมชน เป็นเวทีคืนข้อมูลผู้เข้าร่วมงดเหล้าเข้าพรรษาและบุหรี่ให้กับชุมชนและหน่วยงานภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง  โดยเชิญแกนนำและคณะทำงานชุมชนทั้ง 7 หมู่บ้าน และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สสจ.สตูล  สสอ.สตูล เทศบาลตำบลคลองขุด  รพ.สต เพื่อนำไปเป็นฐานข้อมูลของตำบลต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต แกนนำและคณะทำงานชุมชนทั้ง 7 หมู่บ้าน และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สสจ.สตูล  สสอ.สตูล เทศบาลตำบลคลองขุด  รพ.สต จำนวน 35 คน ผลลัพธ์ มีการคืนข้อมูลผู้เข้าร่วมงดเหล้าเข้าพรรษาและบุหรี่ให้กับชุมชนและหน่วยงานภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องให้ชุมชนได้ทราบและนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป

 

35 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน
ตัวชี้วัด : อัตราการสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ(ร้อยละ)
50.00 45.00 45.00

 

2 เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของผู้ใหญ่
ตัวชี้วัด : อัตราการสูบบุหรี่ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไปลดลงเหลือ(ร้อยละ)
60.00 55.00 55.00

 

3 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ที่ต้องการลด ละ และเลิกดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ปัจจุบัน ทั้งดื่มประจำและครั้งคราว ที่ต้องการลด ละ และเลิกดื่ม เพิ่มขึ้นเป็น(คน)
150.00 210.00 210.00

 

4 เพื่อลดอัตราการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไป
ตัวชี้วัด : อัตราการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไป ลดลงเหลือ(ร้อยละ)
32.84 28.00 28.00

 

5 เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชนเพิ่มขึ้น(คน)
21.00 35.00 35.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 600 600
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 35 35
กลุ่มวัยทำงาน 500 500
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
แกนนำดำเนินกิจกรรม 35 35

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน (2) เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของผู้ใหญ่ (3) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ที่ต้องการลด ละ และเลิกดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (4) เพื่อลดอัตราการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไป (5) เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเก็บข้อมูลและติดตามพฤติกรรมผู้เข้าร่วมงดเหล้าเข้าพรรษา และ ลด ละ เลิกบุหรี่ (2) กิจกรรมประชุมชี้แจง วางแผนการดำเนินโครงการให้คณะทำงานชมรมคนหัวใจเพชรตำบลคลองขุด (3) กิจกรรมประชุมทำความเข้าใจผู้นำศาสนาพุทธ อิสลาม และคณะทำงานชมรมคนหัวใจเพชรตำบลคลองขุด (4) กิจกรรม อบรมกฎหมาย พรบ.เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และ พรบ.ยาสูบ และการเก็บข้อมูล (5) กิจกรรมอบรมเยาวชนรณรงค์เชิญชวนงดเหล้าเข้าพรรษา และลด ละ เลิกบุหรี่ (6) กิจกรรมช่วยชมเชียร์ระหว่างพรรษา (7) กิจกรรมสรุปถอดบทเรียน  งดเหล้าเข้าพรรษา  และลด ละ เลิกบุหรี่ (8) กิจกรรมเชิดชูคนงดเหล้าครบพรรษา และลด ละ เลิกบุหรี่ (9) กิจกรรมเวทีคืนข้อมูลให้กับหน่วยงานและชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการ ลด ละ เลิกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ บุหรี่ ต.คลองขุด

รหัสโครงการ L5300-63-2-16 ระยะเวลาโครงการ 10 สิงหาคม 2563 - 30 พฤศจิกายน 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

ช่วยชมเชียร์ ระหว่างพรรษา 7 หมู่บ้าน รวม 3 ครั้ง
ครั้งที่ 1 กิจกรรมช่วยชมเชียร์ก่อนเข้าพรรษา ครั้งที่ 2 กิจกรรมช่วยชมเชียร์ระหว่างเข้าพรรษา ครั้งที่ 3 กิจกรรมช่วยชมเชียร์หลังออกพรรษา -เพื่อให้คนที่งดเหล้าเข้าพรรษามาแลกเปลี่ยนประสบการณ์
-เพื่อให้กำลังใจผู้งดเหล้าเข้าพรรษาเชียร์ให้มีการงดเหล้าตลอดพรรษา - เพื่อให้กำลังใจผู้งดเหล้าครบพรรษาหลังออกพรรษาและแลกเปลี่ยนประสบการณ์งดเหล้า ผลลัพธ์ที่ได้จากการงดเหล้าและงดบุหรี่ ร่วมถึงการเชียร์ให้งดเหล้า/บุหรี่ ต่อเนื่องและตลอดไป

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

การใช้กิจกรรมศาสนบำบัด ในการช่วยจัดการอารมณ์

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

ผู้ต้องการ ลด ละ เลิก บุหรี่ แอลกอฮอล์มีการใช้สมนไพรในท้องถิ่นช่วย

 

รวบรวมสมุนไพรที่่มีในท้องถิ่น และจัดทำเป็นคู่มือสมุนไพร ลด ละ เลิกบุหรี่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

การให้กำลังใจบุคคลในครอบครัวที่ต้องการลด ละ เลิกบุหรี่ แอลกอฮออล์

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

การสร้างแรงจูงใจในการลด ละ เลิกบุหรี่ เหล้า โดยการมอบเกีรยติบัตรให้เป็นหัวใจหิน หัวใจเพชร หัวใจเหล็ก

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

เกิดการเชื่อมโยงระหว่างสาธารณสุข ชุมชน ชมรม เครือข่ายองค์กรงดเหล้า

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

การใช้ทรัพยากรในชุมชนโดยการเชิญชวนแกนนำมาจากทุกชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการ ลด ละ เลิกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ บุหรี่ ต.คลองขุด จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5300-63-2-16

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายชัยณรงค์ ไชยจิตต์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด