กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างนวัตกรรมสมุนไพรไทยเพื่อสุขภาพ
รหัสโครงการ 60-L3061-2-3
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านใหม่พัฒนวิทย์
วันที่อนุมัติ 1 มีนาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 7 มีนาคม 2560 - 16 พฤษภาคม 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 40,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอับดุลการี สะรี
พี่เลี้ยงโครงการ นายแวฮาซัน โตะอีแล
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเกาะเปาะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.815,101.201place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (40,000.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 107 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันกระแสความนิยมของประชาชนที่หันมาใช้สมุนไพรไทยในการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัวกำลังได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นทุกขณะ ประกอบกับสถานณ์โรคไข้เลือดออกซึ่งเป็นโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะ เป็นโรคที่สร้างความกังวลให้กับครอบครัวและโรงเรียน มีผู้ป่วยเป็นโรคนี้ โดยเฉพาะเด็กๆ ชุมชนบ้านใหม่เป็นชุมชนที่มีสมุนไพรมากมายหลายชนิด มีทั้งสมุนไพรที่ใช้เป็นยารักษาโรค และสมุนไพรที่นำมาใช้ประกอบอาหาร เพื่อให้นักเรียนรู้จักเลือกใช้สมุนไพรไกล้ตัวมาประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพและเพื่อสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์สูงสุด โรงเรียนบ้านใหม่พัฒนวิทย์ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของสมุนไพรดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการเสริมสร้างนวัตกรรมสมุนไพรไทยเพื่อสุขภาพ เพื่อให้นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษาและประชาชนได้ตระหนักและมีจิตสำนึกในการป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้เรื่ีองสมุนไพรใกล้ตัว

ร้อยละ 80

80.00
2 2.เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคที่มียุงเป็นพาหะ

ร้อยละ 60

60.00
3 3.เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักดูแลสุขภาพพลานามัยของตนเองและบุคคลในครอบครัว

ร้อยละ 80

80.00
4 4.เพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ฝึกทักษะทางอาชีพ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

ร้อยละ 70

70.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 0.00 0 0.00
16 มี.ค. 60 กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมแสดงนิทรรศการทำเจลหอม ป้องกันยุง 0 0.00 -
16 มี.ค. 60 กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมแสดงนิทรรศการทำเจลหอม ป้องกันยุง 0 0.00 -
16 มี.ค. 60 กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมแสดงนิทรรศการ การทำยาหม่องน้ำ 0 0.00 -
16 มี.ค. 60 กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมแสดงนิทรรศการรทำยาหม่องพม่า 0 0.00 -
16 มี.ค. 60 กิจกรรมที่ 6 การทำน้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ 0 0.00 -
16 มี.ค. 60 กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมติดตามผลประเมินผล 0 0.00 -

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย ตามโครงการเสริมสร้างนวัตกรรมสมุนไพรไทยเพื่อสุขภาพ กิจกรรมที่ 2 แสดงนิทรรศการและสาธิตการทำสเปรย์ตะไคร้หอม ป้องกันยุง กิจกรรมที่ 3 แสดงนิทรรศการและสาธิตการทำเจลหอม ป้องกันยุง กิจกรรมที่ 4 แสดงนิทรรศการและสาธิตการทำยาหม่องน้ำ กิจกรรมที่ 5 แสดงนิทรรศการและสาธิตการทำยาหม่องพม่า กิจกรรมที่ 6 การทำน้ำสมุนไพรเืพื่อสุขภาพ กิจกรรมที่ 7 ติดตามผลประเมินผล

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษาและประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกันและมีวิธีกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายได้ถูกต้อง 2.ลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก 3.นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษาและประชาชนมีสุขภาพพลานามัยที่ดีขึ้นปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ 4.นักเรียนสามารถนำสมุนไพรใกล้ตัว มาผลิตเป็นนวัตกรรมเพื่อสุขภาพได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 พ.ค. 2560 11:47 น.