กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการตลาดต้นปริก ตลาดรักษ์สุขภาพปีที่2
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
วันที่อนุมัติ 11 มีนาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2563 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 47,250.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.694,100.473place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตามที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติในการประชุมเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2560 เห็นชอบให้ดาเนินโครงการ ตลาดประชารัฐ ภายใต้ความร่วมมือระหว่างกระทรวงมหาดไทย กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ กระทรวงการคลัง กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงการคมนาคมกระทรวงวัฒนธรรม กระทรวง สาธารณสุข ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ บริษัทประชารัฐรักสามัคคีเพื่อสังคมประเทศไทยจากัดเพื่อ พัฒนาพื้นที่ตลาดใหม่ขยายพื้นที่ตลาดเดิมเพิ่มวันทาการเพื่อเพิ่มโอกาสทางการค้าโดยกระทรวงมหาดไทย มอบหมายให้ศูนย์ดารงธรรมจังหวัดและศูนย์ดารงธรรมอาเภอเป็นหน่วยรับลงทะเบียนผู้ประกอบการ ภายใต้โครงการตลาดประชารัฐและให้บูรณาการดาเนินงานร่วมกับหน่วยงานกากับดูแลเพื่อดาเนินโครงการ ให้เป็นไปตามความเรียบร้อยนั้น จังหวัดสงขลาได้บูรณาการตลาดประชารัฐ 7 ประเภทโดยบูรณาการ ความร่วมมือกับหน่วยงานกากับดูแลตลาดแต่ละประเภทตามที่สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้เข้าร่วมการประชุมกับผู้บริหารท้องถิ่นเทศบาลตาบลปริก บุคลากร
และแกนนาผู้ประกอบการร้านค้า เพื่อวางแผนพัฒนากิจกรรมรูปแบบตลาดอาหารปลอดภัยของเทศบาล ตาบลปริก เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2560 ณ ห้องประชุมสภาเทศบาล โดยที่ประชุมมีข้อเสนแนะในการหรือ ฟื้นตลาดสีเขียว โดยมีการแต่งตั้งตัวแทนผู้ประกอบการ รวมทั้งบุคลากรได้เข้าใจแนวทางการทางานด้าน อาหารปลอดภัยและได้ศึกษาดูงานตลาดเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เพื่อนารูปแบบการจัดการ ตลาดเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มาประยุกต์ใช้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มช่องทางการเลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัยจากสารปนเปื้อนให้แก่ประชาชนในพื้นที่ และพื้นที่ใกล้เคียง 3.๒ เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในดูแลสุขภาพด้ายการบริโภคอาหารที่ปลอดสารปนเปื้อนในรูปแบบ ต่าง ๆ เพื่อลดความเสียงในการเกิดโรคของประชาชน 3.3 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจถึงความสาคัญของการบริโภคอาหารที่ปลอดจากสาร ปนเปื้อนที่ช่วยให้ประชนมีสุขภาพที่ดีขึ้น

ตลาดต้นปริกมีพื้นที่จาหน่ายอาหารปลอดสารปนเปื้อนที่เป็นอันตราย ร้อยละ 100

-
ผู้ประกอบการมีความรู้สามารถผลิตอาหารที่ปลอดสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายได้ร้อยละ 80

-
ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องสามารถเลือกซื้ออาหารที่ปลอดสารปนเปื้อนที่เป็นอันตราย
ได้ ร้อยละ 80

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

.1 ประชุมคณะกรรมการและคณะทางานเพื่อวางแผนการดาเนินการ 4 ครั้ง

5.2 จัดกระบวนการและอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ

5.3 จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่ประชาชน ทุกวันอังคารเป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ รวม 12 ครั้ง

5.4 ตรวจสาร 5 ประเภท ในอาหาร 3 เดือน/ครั้ง


5.5 ประชุมคณะกรรมการและคณะทางานเพื่อประเมินผลการดาเนินงาน 3 ครั้ง


5.6 ประชุมถอดบทเรียนจากการดาเนินงานตามโครงการ


5.7 สรุปผลการดาเนินงานโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

.เกิดช่องทางการเลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัยจากสารปนเปื้อนให้แก่ประชาชนในพื้นที่ และพื้นที่ ใกล้เคียง

3.๒ เกิดการมีส่วนร่วมในดูแลสุขภาพด้ายการบริโภคอาหารที่ปลอดสารปนเปื้อนในรูปแบบต่าง ๆ
เพื่อป้องกันการเกิดโรคของประชาชน



3.3 ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจถึงความสาคัญของการบริโภคอาหารที่ปลอดจากสารปนเปื้อนที่ ช่วยเสริมสร้างให้ประชนมีสุขภาพที่ดีขึ้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มี.ค. 2563 14:27 น.