กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก


“ โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในชุมชน : ผลิตภัณฑ์สมุนไพรกันยุง ประจำปี 2563 ”

ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสปีเนาะ กะโด

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในชุมชน : ผลิตภัณฑ์สมุนไพรกันยุง ประจำปี 2563

ที่อยู่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 21/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มีนาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในชุมชน : ผลิตภัณฑ์สมุนไพรกันยุง ประจำปี 2563 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในชุมชน : ผลิตภัณฑ์สมุนไพรกันยุง ประจำปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในชุมชน : ผลิตภัณฑ์สมุนไพรกันยุง ประจำปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มีนาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์โรคไข้เลือดออกที่มีการระบาดอยู่ทั่วประเทศ และเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่สำคัญ ส่งผลการะทบตามมามากมาย อาทิเช่น ทำให้เป็นภาระของครอบครัว ส่งผลต่อการเรียน ต่อการทำงาน  และค่าใช้จ่ายในการรับบริการการรักษาพยาบาล และค่าใช้จ่ายของครอบครัวผู้ป่วย ตลอดจนอาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตก่อนวัยอันสมควร ด้วยเหตุนี้ ปัญหาโรคไข้เลือดออกจึงเป็นปัญหาสำคัญที่เราทุกคนในสังคม    ควรตระหนัก และหันมาช่วยกันป้องกัน แก้ไขอย่างจริงจัง เพื่อลดปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ในประเทศไทย และเพื่อลดผลกระทบทางสังคม เศรษฐกิจ และสุขภาพของประชาชนจากการแพร่ระบาด  ของโรคไข้เลือดออก ตั้งแต่ระดับครัวเรือน ชุมชน จนถึงระดับชาติ สำหรับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก  ก็มีผู้ป่วยซึ่งเป็นโรคไข้เลือดออกในทุก ๆ ปี ทั้งที่มีการรณรงค์ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการควบคุมลูกน้ำยุงลาย ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่อง โดยทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข  ประจำหมู่บ้านร่วมกับคณะเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก และกองสาธารณสุขเทศบาลเมืองสะเตงนอก ซึ่งจะทำงานร่วมกันเป็นทีมในการลงควบคุมลูกน้ำยุงลายซึ่งจะทำแผนปฏิบัติงาน เป็นประจำอย่างต่อเนื่อง แต่ก็ยังพบผู้ป่วยที่เป็นไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในช่วงฤดูกาลที่มีฝนตก จึงได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว ซึ่งประกอบกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก มีแพทย์แผนไทยที่ปฏิบัติงานอยู่ภายใน รพ.สต. ซึ่งมีความสามารถที่จะถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยให้กับชาวบ้าน และกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จัดทำโครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในชุมชน : ผลิตภัณฑ์สมุนไพรกันยุง ซึ่งเป็นการแปรรูปสมุนไพร (ตะไคร้หอม) ที่มีอยู่แล้วในท้องถิ่นนำมาใช้ประโยชน์ในการไล่ยุง และป้องกันยุง และแมลงอื่น ๆ ประชาชนได้ใช้ผลิตภัณฑ์ที่ทำจากตะไคร้หอมไล่ยุงที่ปลอดสารพิษ ราคาถูก และยังสามารถทำได้เองในครัวเรือนเพื่อลดรายจ่ายในครอบครัวอีกด้วย ซึ่งคุณสมบัติของตะไคร้หอมมีหลายอย่าง เช่นช่วยไล่ยุง ป้องกันยุง ขับเหงื่อ สารสำคัญในการออกฤทธิ์ไล่ยุงและแมลงของตะไคร้หอม มีการทดลองทางคลินิก
ซึ่งใช้ในการไล่ยุง โดยทางคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ใช้ครีมที่มีส่วนผสมของน้ำมันหอมระเหยตะไคร้หอม 17% พบว่ามีฤทธิ์ไล่ยุงได้นาน 3 ชั่วโมง สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ได้ทดลองประสิทธิภาพป้องกันยุงกัดของครีมที่ดีส่วนผสมตะไคร้หอม 20 % พบว่า มีฤทธิ์ไล่ยุงได้นานประมาณ 2 ชั่วโมง ขึ้นไป ในมะกรูดมีน้ำมันหอมระเหยอยู่มาก มีกลิ่นฉุน จึงสามารถนำไปไล่แมลงบางชนิดได้ เช่น มอดและมด ที่อยู่ในข้าวสาร นอกจากนี้มะกรูดยังใช้ในการไล่ยุงและกำจัดลูกน้ำยุงลาย นำเปลือกมาตากแห้งและเผาไฟจะช่วยไล่ยุงได้ดี
      ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก อำเภอเมือง จังหวัดยะลา จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการเฝ้าการเกิดระวังลูกน้ำยุงลายทั้งในสถานบริการและในชุมชน เพื่อให้ประชาชนห่างไกลจากโรคไข้เลือดออก จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในชุมชน : ผลิตภัณฑ์สมุนไพรกันยุง ประจำปี 2563 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ และทราบประโยชน์จากการใช้พืชสมุนไพรในการป้องกันยุง
  2. 2 เพื่อให้ประชาชน สามารถนำสมุนไพรใกล้ตัวมาใช้ป้องกันยุงได้
  3. 3 เพื่อให้ประชาชนสามารถนำสมุนไพรใกล้ตัวมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์สมุนไพรได้
  4. 4 เพื่อให้ประชาชนสามารถนำความรู้ที่ได้ถ่ายทอดให้กับชุมชนเพื่อมีส่วนร่วมในกิจกรรมและส่งเสริมให้ได้รับการดูแลด้วยแพทย์ทางเลือก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้

วันที่ 27 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

.

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.จัดทำโครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในชุมชน : ผลิตภัณฑ์สมันไพรกันยุง ปี 2563 ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ซึ่งได้รับการอนุมัติจากเทศบาลเมืองสะเตงนอก 2.จัดอบรมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสมุนไพรใกล้ตัวที่นำมาใช้ในการป้องกันยุง สรรพคุณของสมันไพรและวิธีการนำมาใช้ พร้อมทั้งแจกคู่มือสมุนไพรไล่ยุงให้กับประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ ในวันที่ 26 และ 27 พฤศจิกายน 2563 3.สอนการวิธรการทำยาหม่องตะไคร้หอม โดยเบื้องต้นจะอธิบายเกี่ยวกับสมุนไพรและวัสดุอุปกรณ์ที่นำมาทำยาหม่องตะไคร้หอม พร้อมบอกสรรพคุณของส่วนประกอบต่างๆเหล่านั้น หลังจากนั้นอธิบายวิธีการทำยาหม่องตะไคร้หอม 4.สาธิตวิธีการชั่ง และตวงส่วนประกอบต่างๆและให้ผู้เข้าร่วมอบรมช่วยกันตวงส่วนประกอบต่างๆและหลังจากนันเริ่มลงมือปฏิบัติไปพร้อมๆกัน โดยแบ่งให้ทำ 2 กลุ่ม ในแต่ละรอบของการอบรม ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)ให้ความสนใจและเข้าร่วมจากกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้ คิดเป็นร้อยละ 100 5.ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสมุนไพรที่่ใช้ในการป้องกันยุง และประโยชน์ของสมุนไพรที่นำมาใช้แต่ละชนิด รวมถึงวิธีการนำมาใช้ด้วย ดดยสามารถนำมาใช้ได้เองและคนในครอบครัวได้พร้อมทั้งสามารถเอามาเผยแพร่ให้คนในชุมชนของตัวเองได้ด้วย รวมถึงได้ฝึกปฏิบัติการทำยาหม่องตะไคร้หอมร่วมกัน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ และทราบประโยชน์จากการใช้พืชสมุนไพรในการป้องกันยุง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2 เพื่อให้ประชาชน สามารถนำสมุนไพรใกล้ตัวมาใช้ป้องกันยุงได้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3 เพื่อให้ประชาชนสามารถนำสมุนไพรใกล้ตัวมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์สมุนไพรได้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 4 เพื่อให้ประชาชนสามารถนำความรู้ที่ได้ถ่ายทอดให้กับชุมชนเพื่อมีส่วนร่วมในกิจกรรมและส่งเสริมให้ได้รับการดูแลด้วยแพทย์ทางเลือก
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ และทราบประโยชน์จากการใช้พืชสมุนไพรในการป้องกันยุง (2) 2 เพื่อให้ประชาชน สามารถนำสมุนไพรใกล้ตัวมาใช้ป้องกันยุงได้ (3) 3 เพื่อให้ประชาชนสามารถนำสมุนไพรใกล้ตัวมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์สมุนไพรได้ (4) 4 เพื่อให้ประชาชนสามารถนำความรู้ที่ได้ถ่ายทอดให้กับชุมชนเพื่อมีส่วนร่วมในกิจกรรมและส่งเสริมให้ได้รับการดูแลด้วยแพทย์ทางเลือก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในชุมชน : ผลิตภัณฑ์สมุนไพรกันยุง ประจำปี 2563 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสปีเนาะ กะโด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด