กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ


“ โครงการร้านขายของชำปลอดยาอันตราย ในตำบลปากล่อ อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี ”

ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวเยาวรี ยูโซะ

ชื่อโครงการ โครงการร้านขายของชำปลอดยาอันตราย ในตำบลปากล่อ อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี

ที่อยู่ ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-PKL-02-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 ถึง 24 มิถุนายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการร้านขายของชำปลอดยาอันตราย ในตำบลปากล่อ อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการร้านขายของชำปลอดยาอันตราย ในตำบลปากล่อ อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 .เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาความรู้ให้กับผู้ประกอบการ และการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในพื้นที่ 2. เพื่อให้ผู้จำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพมีความรู้ในการเลือกผลิตภัณฑ์สุขภาพมาจำหน่าย 3.เพื่อกำกับดูแล เฝ้าระวังความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านขายของชำ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1สำรวจ ตรวจร้านขายของชำในพื้นที่รับผิดชอบและแจกสื่อประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับยาอันตรายให้แก่ผู้ประกอบการร้านขายของชำในพื้นที่ (2) กิจกรรมที่ 2 จัดทำหนังสือเชิญผู้ประกอบการให้ความรู้เรื่องร้านขายของชำปลอดยาอันตรายในตำบลปากล่อ (3) กิจกรรมที่ 3 จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการร้านขายของชำ และจัดทำเกียรติบัตร แก่ผู้ผ่านการอบรมร้านขายของชำปลอดยาอันตราย (4) กิจกรรมที่ 4 ออกตรวจติดตามการพัฒนาร้านชำ และให้รางวัลร้านชำที่มีการพัฒนาคุณภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันนี้ ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่เหมาะสมและการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ถูกต้อง มีออกมาอย่างแพร่หลาย กระจายอยู่ทั่วไปในทุกท้องที่โดยเฉพาะในร้านขายของชำที่อยู่ในหมู่บ้าน ซึ่งผลิตภัณฑ์บางอย่างไม่มีคุณภาพมาตรฐาน หรือไม่มีการรับรองใด ๆ ถ้าผู้จำหน่ายและผู้บริโภคไม่ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องอาจก่อให้เกิดอันตรายแก่สุขภาพของประชาชนได้ จากการปฏิบัติงานในการตรวจสอบฉลากในร้านขายของชำในเขตตำบลปากล่อ จำนวน 30 ร้าน พบว่ามีร้านขายของชำจำหน่ายยาอันตรายที่ไม่ใช่ยาสามัญประจำบ้านมากกว่า 22 ร้าน (ร้อยละ 73 ) ส่วนใหญ่เป็นยาแก้อักเสบหรือยาปฏิชีวนะ (Antibiotics) และยาชุด ซึ่งทำให้ประชาชนมีความเสี่ยงและอันตรายจากการใช้ยาทำให้เกิดการดื้อยาเป็นการใช้ยาอย่างไม่สมเหตุสมผลและเสียเงินโดยเปล่าประโยชน์ เนื่องจากผู้ประกอบการ เจ้าของร้านขายของชำส่วนใหญ่ยังไม่ค่อยมีความรู้ในเรื่องเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และยารักษาโรคที่วางจำหน่ายในร้าน เช่น การขายยาอันตรายในร้านขายยาหลายร้าน หรือพบผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีฉลากหรือฉลากไม่ครบถ้วน ผู้ประกอบการยังไม่มีความรู้ในเรื่องเหล่านี้ จากสภาพปัญหาดังกล่าวชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลปากล่อ จึงได้จัดทำโครงการอบรมให้ความรู้ร้านขายของชำปลอดยาอันตรายในตำบลปากล่อขึ้น เพื่อรณรงค์ให้ความรู้ร้านขายของชำปลอดยาอันตราย ให้มีการเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านขายของชำอย่างถูกต้อง และมีความต่อเนื่อง โดยผู้ประกอบการเองเป็นผู้เลือกหาผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ ปลอดภัยสำหรับผู้บริโภค มาจำหน่ายในร้านขายของชำได้อย่างเหมาะสม เพื่อให้ประชาชนได้รับความปลอดภัยจากการใช้บริการในร้านชำ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 .เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาความรู้ให้กับผู้ประกอบการ และการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในพื้นที่ 2. เพื่อให้ผู้จำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพมีความรู้ในการเลือกผลิตภัณฑ์สุขภาพมาจำหน่าย 3.เพื่อกำกับดูแล เฝ้าระวังความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านขายของชำ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1สำรวจ ตรวจร้านขายของชำในพื้นที่รับผิดชอบและแจกสื่อประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับยาอันตรายให้แก่ผู้ประกอบการร้านขายของชำในพื้นที่
  2. กิจกรรมที่ 2 จัดทำหนังสือเชิญผู้ประกอบการให้ความรู้เรื่องร้านขายของชำปลอดยาอันตรายในตำบลปากล่อ
  3. กิจกรรมที่ 3 จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการร้านขายของชำ และจัดทำเกียรติบัตร แก่ผู้ผ่านการอบรมร้านขายของชำปลอดยาอันตราย
  4. กิจกรรมที่ 4 ออกตรวจติดตามการพัฒนาร้านชำ และให้รางวัลร้านชำที่มีการพัฒนาคุณภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ร้านขายของชำมีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่มีฉลากถูกต้อง ไม่มีการจำหน่ายยาอันตรายและผลิตภัณฑ์ที่ผิดกฏหมาย 2.ผู้ประกอบการเจ้าของร้านชำ มีศักยภาพและตระหนักถึงความปลอดภัยของผู้บริโภค ในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพมาจำหน่ายในร้านขายของชำมากขึ้น 3.ประชาชน ได้รับความปลอดภัยจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านขายของชำมากขึ้น 4.ได้รับข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภคในร้านขายของชำเพื่อให้มีความต่อเนื่องและยั่งยืน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 2 จัดทำหนังสือเชิญผู้ประกอบการให้ความรู้เรื่องร้านขายของชำปลอดยาอันตรายในตำบลปากล่อ

วันที่ 1 พฤษภาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำหนังสือเชิญวิทยากรนาย อาภัย มาลินี เภสัชกรโรงพยาบาลโคกโพธิ์ มาเป็นวิทยากรในวันที่ 20 พ.ค. 2563 และผู้ประกอบการให้ความรู้เรื่องร้านขายของชำปลอดยาอันตรายในตำบลปากล่อ จำนวน 30 ร้าน มาเข้าร่วมอบรมในวันที่30 พ.๕. 2563 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากล่อ อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ ตรวจสอบ ร้อยละ สรุปผล ดำเนินการตรวจสอบการขายยาอันตรายภายในร้านขายของชำ กลุ่มเป้าหมาย 30 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 100 ลงตรวจสอบ จำนวน 30 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 100 โดยร้านขายของชำพบจำหน่ายยาอันตราย จำนวน 22 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 93

 

30 0

2. กิจกรรมที่ 3 จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการร้านขายของชำ และจัดทำเกียรติบัตร แก่ผู้ผ่านการอบรมร้านขายของชำปลอดยาอันตราย

วันที่ 20 พฤษภาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการร้านขายของชำ เรื่องการเลือกผลิตภัณฑ์จำหน่ายในร้านขายของชำ และรายการยาที่ร้านขายของชำสามารถจำหน่ายได้ แก่กลุ่มเป้าหมายผู้ประกอบการ จำนวน 30 คน  6 ชั่วโมง  โดยวิทยากร 2.จัดทำเกียรติบัตร แก่ผู้ผ่านการอบรมร้านขายของชำปลอดยาอันตราย แก่กลุ่มเป้าหมายผู้ประกอบการ จำนวน 30 คน โดยเจ้าหน้าที่และวิทยากร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เป้าหมายในการจัดอบรม จำนวน 18 ร้าน คิดเป็นร้อยละ  60  โดยมีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมอบรมทั้งสิ้น จำนวน 27 ร้านค้า คิดเป็นร้อยละ 90 และมีเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับทำการทดสอบหลังได้รับความรู้ จำนวน 18 ร้านค้า คิดเป็นร้อยละ 60 ผลลัพธ์ร้านค้าที่ผ่านทดสอบ จำนวน 25 ร้านค้า คิดเป็นร้อยละ 83 ดังนั้นตัวชี้วัดดังกล่าวถือว่าผลลัพธ์มีผลบรรลุตามวัตถุประสงค์ดังกล่าวข้างต้น

 

30 0

3. กิจกรรมที่ 4 ออกตรวจติดตามการพัฒนาร้านชำ และให้รางวัลร้านชำที่มีการพัฒนาคุณภาพ

วันที่ 1 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.ออกตรวจติดตามการพัฒนาร้านชำ แก่กลุ่มเป้าหมายผู้ประกอบการ จำนวน 30 ร้าน โดยเจ้าหน้าที่ร่วมกับอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภค 2. ให้รางวัลร้านชำที่มีการพัฒนาคุณภาพ จำนวน 10 ร้าน โดยเจ้าหน้าที่ร่วมกับอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภค

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร้านค้าทั้งหมดที่ได้รับการสำรวจจำนวน 30 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 100 เป้าหมายทั้งหมดที่ยังมีการขายยาอันตราย เป้าหมาย 12 ร้าน คิดเป็นร้อยละ  60 พบว่า ร้านค้าที่ยังมีการขายยาอันตราย จำนวน8 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 27
และ เป้าหมายทั้งหมดที่ไม่มีการขายยาอันตราย จากจำนวน 30 ร้านค้า เป้าหมายจำนวน 18 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 60 พบว่า ร้านค้าที่ไม่มีการขายยาอันตราย จำนวน22ร้าน คิดเป็นร้อยละ 73 ถือว่าตัวชี้วัดดังกล่าว บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ และอย่างไรก็ตาม จำเป็นที่ต้องมีการสำรวจและพัฒนาร้านขายของชำกันต่อไป เพื่อให้คถณภาพชีวิตของประชาชนในตำบลปากล่อ มีคุณภาพชีวิตที่ดี ปลอดภัยจากการทานยาที่ไม่มีความเหมาะสมต่อร่างการ และมีความรุ้ในการดำเนิดชีวิตที่ดีขึ้น

 

30 0

4. กิจกรรมที่ 1สำรวจ ตรวจร้านขายของชำในพื้นที่รับผิดชอบและแจกสื่อประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับยาอันตรายให้แก่ผู้ประกอบการร้านขายของชำในพื้นที่

วันที่ 5 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรม 1. ประชุมชี้แจงอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อวางแผนในการดำเนินงานตรวจร้านขายของชำ จำนวน 9 คน โดยเจ้าหน้าที่       2. ดำเนินการสำรวจและตรวจร้านขายของชำในพื้นที่รับผิดชอบ แก่กลุ่มเป้าหมายผู้ประกอบการ จำนวน 30 ร้าน โดยเจ้าหน้าที่ร่วมกับอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภค

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ออกดำเนินการตรวจ30ร้าน 9 คน ครบ100% / ร้านมีความรู้ความความเข้าใจเรื่องร้าน

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 .เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาความรู้ให้กับผู้ประกอบการ และการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในพื้นที่ 2. เพื่อให้ผู้จำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพมีความรู้ในการเลือกผลิตภัณฑ์สุขภาพมาจำหน่าย 3.เพื่อกำกับดูแล เฝ้าระวังความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านขายของชำ
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ ดำเนินการตรวจสอบการขายยาอันตรายภายในร้านขายของชำ ( กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 100 /ผู้ประกอบการ จำนวน 30 ร้าน ) วัดจากจำนวนเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับความรู้ ( กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 60 /ผู้ประกอบการ จำนวน 30 ร้าน ) วัดจากจำนวนเป้าหมายทั้งหมดที่ได้สำรวจ ( กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 60 /ผู้ประกอบการ จำนวน 30 ร้าน )
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 .เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาความรู้ให้กับผู้ประกอบการ และการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในพื้นที่ 2. เพื่อให้ผู้จำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพมีความรู้ในการเลือกผลิตภัณฑ์สุขภาพมาจำหน่าย 3.เพื่อกำกับดูแล เฝ้าระวังความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านขายของชำ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1สำรวจ ตรวจร้านขายของชำในพื้นที่รับผิดชอบและแจกสื่อประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับยาอันตรายให้แก่ผู้ประกอบการร้านขายของชำในพื้นที่ (2) กิจกรรมที่ 2 จัดทำหนังสือเชิญผู้ประกอบการให้ความรู้เรื่องร้านขายของชำปลอดยาอันตรายในตำบลปากล่อ (3) กิจกรรมที่ 3 จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการร้านขายของชำ และจัดทำเกียรติบัตร แก่ผู้ผ่านการอบรมร้านขายของชำปลอดยาอันตราย (4) กิจกรรมที่ 4 ออกตรวจติดตามการพัฒนาร้านชำ และให้รางวัลร้านชำที่มีการพัฒนาคุณภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการร้านขายของชำปลอดยาอันตราย ในตำบลปากล่อ อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-PKL-02-11 ระยะเวลาโครงการ 1 เมษายน 2563 - 24 มิถุนายน 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการร้านขายของชำปลอดยาอันตราย ในตำบลปากล่อ อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-PKL-02-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวเยาวรี ยูโซะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด