กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คอลอตันหยง


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2563 ”

ตำบลคอลอตันหยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสีตีไอเสาะ สลำบ่อ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ ตำบลคอลอตันหยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3062-01-13 เลขที่ข้อตกลง 13/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2563 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคอลอตันหยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คอลอตันหยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคอลอตันหยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L3062-01-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คอลอตันหยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่กำลังเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข จากการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างประชากร สภาวะเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ทำให้ประชาชนมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดำรงชีวิตประจำวัน เช่น การเร่งรีบ การแข่งขันในการทำงาน การบริโภคอาหารไม่คำนึงถึงหลักโภชนาการที่ร่างกายจำเป็นต้องนำไปใช้ จึงทำให้เกิดการขาดความสมดุลของสารอาหาร เช่น ภาวะอ้วน มีคอเลสเตอรอลในเลือดสูง ทำให้เกิดการตีบแคบของเส้นเลือด ซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิดโรคความดันโลหิตสูง ขาดการออกกำลังกายอายุมากขึ้นหรือมีความเครียดในการดำเนินชีวิตประจำวันทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
จากการดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคอลอตันหยง ปีงบประมาณ 2563 มีผลการดำเนินงานดังนี้คือ ประชาชนกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน จำนวน934 คน คิดเป็นร้อยละ 99.57 พบกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง 200 คน คิดร้อยละ21.41พบกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน จำนวน 171 คน คิดเป็นร้อยละ18.30ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 135 คน และโรคเบาหวาน จำนวน 33 คน ป่วยทั้งเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน33 คน รวมผู้ป่วยทั้งหมด 191 คน มีภาวะแทรกซ้อน จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ5.23 จากข้อมูลดังกล่าว คณะกรรมการสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคอลอตันหยง มีความตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนกลุ่มดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงขึ้น เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และลดการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเอง
  2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
  3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและควบคุมระดับความดันโลหิตให้อยู่ในระดับปกติ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงเชิงปฏิบัติการดูแลสุขภาพตนเองของกลุ่มเสี่ยง
  2. ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงจำนวน 2 ครั้ง
  3. กิจกรรมเสริมสร้างแรงจูงใจ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองเพิ่มขึ้น ร้อยละ 70
  2. ผู้เข้าร่วมมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพถูกต้อง ร้อย70 จากการติดตามหลังการ อบรม 4เดือน
  3. ระดับความดันโลหิตของผู้ที่เข้ารับการอบรมที่มีภาวะเสี่ยงลดลงปกติอยู่ในเกณฑ์ปกติ ร้อยละ 50 จากการติดตามหลังการอบรม 4เดือน
  4. ระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ที่เข้ารับการประชุมชี้แจงที่มีภาวะเสี่ยง ลดลงปกติอยู่ในเกณฑ์ปกติ ร้อยละ 40 จากการติดตามหลังการประชุมชี้แจง4 เดือน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงจำนวน 2 ครั้ง

วันที่ 8 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขติดตามประเมินภาวะสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยง           3.1 ชั่งน้ำหนัก  วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต และประเมินพฤติกรรมการบริโภค เมื่อครบ
    กำหนด 2  และ 4 เดือน
              3.2 ทำแบบสัมภาษณ์ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและ โรคความดันโลหิตสูง เพื่อทดสอบความรู้และประเมินพฤติกรรมสุขภาพหลังเข้าร่วมโครงการ ครบ  4  เดือน กิจกรรมที่ 2  ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงจำนวน 2 ครั้ง

- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  จำนวน 80 คน ๆ ละ 25 บาท จำนวน 2  มื้อ รวมเป็นเงิน 4,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เข้าร่วมมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองเพิ่มขึ้น ร้อยละ 70
  2. ผู้เข้าร่วมมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพถูกต้อง ร้อย70 จากการติดตามหลังการ อบรม 4  เดือน
  3. ระดับความดันโลหิตของผู้ที่เข้ารับการอบรมที่มีภาวะเสี่ยงลดลงปกติอยู่ในเกณฑ์ปกติ ร้อยละ 50 จากการติดตามหลังการอบรม 4  เดือน
  4. ระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ที่เข้ารับการประชุมชี้แจงที่มีภาวะเสี่ยง ลดลงปกติอยู่ในเกณฑ์ปกติ ร้อยละ 40 จากการติดตามหลังการประชุมชี้แจง  4 เดือน

 

0 0

2. ประชุมชี้แจงเชิงปฏิบัติการดูแลสุขภาพตนเองของกลุ่มเสี่ยง

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประเมินกลุ่มเป้าหมายก่อนการประชุมชี้แจง           1.1 ทำแบบทดสอบความรู้ก่อนการประชุมชี้แจง           1.2 ประเมินภาวะสุขภาพก่อนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง รอบเอว วัดความดันโลหิต และตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด
  2. จัดประชุมชี้แจงเชิงปฏิบัติการแก่กลุ่มเสี่ยง           2.1 ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และการปฏิบัติตัว           2.2 ให้ความรู้เกี่ยวกับการประเมินสุขภาพเบื้องต้นพร้อมฝึกปฏิบัติการใช้แบบประเมินสุขภาพและแปลผลภาวะ สุขภาพของตนเอง           2.3 ให้ความรู้เรื่องการใช้แบบประเมินความเครียดด้วยตนเองและการแปรผล พร้อมทั้งฝึกใช้แบบประเมินความเครียด           2.4 ให้ความรู้เรื่องสุขภาพจิตและการจัดการความเครียด           2.5 สาธิตและฝึกปฏิบัติการฝึกจิตและการคลายเครียด
              2.6 ให้ความรู้และสาธิตวิธีการออกกำลังกายที่เหมาะสมสำหรับกลุ่มเสี่ยงแต่ละกลุ่มอายุ           2.7 ให้ความรู้ สาธิตและฝึกปฏิบัติการจัดเมนูอาหารตัวอย่าง
              2.8 จัดกิจกรรมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้  เพื่อหาแนวทางในการเสริมแรงจูงใจให้เกิดการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม           2.9 ทำแบบทดสอบความรู้หลังการประชุมชี้แจง กิจกรรมที่ 1  ประชุมชี้แจงเชิงปฏิบัติการดูแลสุขภาพตนเองของกลุ่มเสี่ยง

- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 80 คนๆ ละ50 บาท X 1 มื้อ รวมเป็นเงิน 4,000 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 80 คนๆล 25 บาทจำนวน 2 มื้อ รวมเป็นเงิน 4,000 บาท                 รวมเป็นเงิน 8,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เข้าร่วมมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองเพิ่มขึ้น ร้อยละ 70
  2. ผู้เข้าร่วมมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพถูกต้อง ร้อย70 จากการติดตามหลังการ อบรม 4เดือน
  3. ระดับความดันโลหิตของผู้ที่เข้ารับการอบรมที่มีภาวะเสี่ยงลดลงปกติอยู่ในเกณฑ์ปกติ ร้อยละ 50 จากการติดตามหลังการอบรม 4เดือน
  4. ระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ที่เข้ารับการประชุมชี้แจงที่มีภาวะเสี่ยง ลดลงปกติอยู่ในเกณฑ์ปกติ ร้อยละ 40 จากการติดตามหลังการประชุมชี้แจง4 เดือน

 

0 0

3. กิจกรรมเสริมสร้างแรงจูงใจ

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. คัดเลือกบุคคลต้นแบบที่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพพร้อมมอบรางวัลและเกียรติบัตร กิจกรรมที่ 3  กิจกรรมเสริมสร้างแรงจูงใจ

- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 80 คนๆ ละ50 บาท X 1 มื้อ รวมเป็นเงิน 4,000 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 80 คนๆล 25 บาทจำนวน 2 มื้อ รวมเป็นเงิน 4,000 บาท - ค่ารางวัลบุคคลต้นแบบที่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพรายละเอียดดังนี้
รางวัลที่  1  จำนวนเงิน  1,000 บาท รางวัลที่  2  จำนวนเงิน  800  บาท รางวัลที่  3  จำนวนเงิน  700  บาท                 รวมเป็นเงิน 10,500  บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เข้าร่วมมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองเพิ่มขึ้น ร้อยละ 70
  2. ผู้เข้าร่วมมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพถูกต้อง ร้อย70 จากการติดตามหลังการ อบรม 4  เดือน
  3. ระดับความดันโลหิตของผู้ที่เข้ารับการอบรมที่มีภาวะเสี่ยงลดลงปกติอยู่ในเกณฑ์ปกติ ร้อยละ 50 จากการติดตามหลังการอบรม 4  เดือน
  4. ระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ที่เข้ารับการประชุมชี้แจงที่มีภาวะเสี่ยง ลดลงปกติอยู่ในเกณฑ์ปกติ ร้อยละ 40 จากการติดตามหลังการประชุมชี้แจง  4 เดือน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเอง
ตัวชี้วัด :
50.00 70.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
50.00 70.00

 

3 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและควบคุมระดับความดันโลหิตให้อยู่ในระดับปกติ
ตัวชี้วัด :
50.00 70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเอง (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง (3) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและควบคุมระดับความดันโลหิตให้อยู่ในระดับปกติ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงเชิงปฏิบัติการดูแลสุขภาพตนเองของกลุ่มเสี่ยง (2) ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงจำนวน 2 ครั้ง (3) กิจกรรมเสริมสร้างแรงจูงใจ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2563

รหัสโครงการ 63-L3062-01-13 รหัสสัญญา 13/2563 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2563 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3062-01-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสีตีไอเสาะ สลำบ่อ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด