กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในประชากรกลุ่มเสี่ยง/ป่วยโรคเรื้อรังด้วย 3อ2ส
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตาเซะ
วันที่อนุมัติ 24 กุมภาพันธ์ 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2563 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2563
งบประมาณ 7,500.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสุไลมาน มะแซ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตาเซะ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.62,101.253place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 พ.ค. 2563 30 ก.ย. 2563 7,500.00
รวมงบประมาณ 7,500.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 15 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 35 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

กลุ่มโรคเรื้อรัง ไม่ว่าจะเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงหรือโรคทงระบบหลอดเลือด เป็นกลุ่มโรคเรื้อรังและเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของโลก ถึงแม้ว่าจะมีความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการเกี่ยวข้องกับโรคเรื้อรังสูงแต่ความชุกและอุบัติการณ์ กลับเพิ่มขุ้นอย่างรวดเร็ว ทั้งในชุมชนเมืองและในชนบท อีกทั้งผู้ป่วยที่เป็นโรคเรื้อรังเบาหวานนั้น ถ้ามีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมจะเกิดภาวะแทรกซ้อนทั้งทางตา ไต เท้า สมอง หัวใจ หรืออาจหมดสติจากภาวะน้ำตาลในเลือดสูง หมดสติจากภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ ติเชื้อง่าย หลิดเลือดตีบหรือแตกในสมอง ทำให้เป็นอัมพาตได้ผลกระทบของผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวาน มีทั้งกระทบโดยตรงต่อผู้ป่วยและครอบครัว คือ จะต้องเสียค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการรักษาพยาบาล รวมทั้งสูญเสียอวัยวะ และความพิการซึ่งเกิดขึ้นได้มากกว่าคนปกติ รวมทั้งมีผลกระทบถึงสภาพจิตใจด้วย นอกจากนี้ผลเสียทางอ้อมอันเกิดจากภาวะแทรกซ้อนและการมีพยาธิสภาพ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคเรื้อรัง ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้้อง

ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ คิดเป็นร้อยละ 80

80.00
2 เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ความดันโลหิตสูงและเบาหวานรายใหม่ และกลุ่มป่วยสามารถควบคุมความดันและเบาหวานได้ดีเพิ่มขึ้น

กลุ่มเสี่ยงไม่เกิดโรคเรื้อรัง ความดัน เบาหวานไม่ป่วยเป็นโรคเรื้อรังรายใหม่เพิ่มขึ้นไม่เกินร้้อยละ 10 กลุ่มป่วยเบาหวาน ควบคุมน้ำตาลได้ดีเพิ่มขึ้นร้อยละ 5 และควบคุมความดันได้ดีเพิ่มขึ้น ร้อยละ 10

10.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 150 7,500.00 0 0.00
1 พ.ค. 63 - 30 ก.ย. 63 สำรวจข้อมูลกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป และกลุ่มป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ในปีงบประมาณ 2563 50 0.00 -
1 พ.ค. 63 - 30 ก.ย. 63 ร่วมประชาสัมพันธ์กับ อสม. ผู้นำชุมชน เพื่อสำรวจกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยด้วยโรคเรื้อรัง 50 0.00 -
1 พ.ค. 63 - 30 ก.ย. 63 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน 50 7,500.00 -

1สำรวจข้อมุลกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยด้วยโรคเรื้อรังจากการคัดกรองสุขภาพประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป 2ประเมินค่า BMI วัดรอบเอว รอบสะโพก ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด (DTX) และวัดความดันโลหิตก่อนและหลังเขาร่วมโครงการในเขตพื้นที่รับผิดชอบ 3อบรมให้ความรู้เชิงปฎิบบัติการในประชากรกลุ่มเสี่ยงโดยใช้หลัก 3อ2ส 4ตรวจประเมินสุขภาพร่างกาย ก่อนและหลังปรับเปลี่ยน 5จัดทำกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันใกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยด้วยโรคเรื้อรัง 6ติดตามตรวจสุขภาพซ้ำในกลุ่มเสี่ยงเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและตรวจช่องปาก อย่างต่อเนื่อง

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1กลุ่มเสี่ยงด้วยโรคเรื้อรังไม่ป่วยเป็นโรคเรื้อรังรายใหม่ 2ลดอัตราการเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่ในเขตพื้นที่ รพ.สต ตาเซะ 3กลุ่มเสียงโรคเรื้อรังได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การตรวจประเมินและดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องทุกราย

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 มี.ค. 2563 10:15 น.