กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเผชิญการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประจำปีงบประมาณ 2563
รหัสโครงการ 63-L5273-5-3
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม อบต.ฉลุง
วันที่อนุมัติ 2 เมษายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 16 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 200,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาววรัญญา เฉลิมบุญ
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวดวงใจ อ่อนแก้ว
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.007,100.296place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 16 มี.ค. 2563 30 ก.ย. 2563 200,000.00
รวมงบประมาณ 200,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากสถานการณ์การระบาดของไวรสโควิด ซึ่งมีการประกาศกระทรวงสาธารณสุขให้ โรคไวรัสโคโรน่า หรือ COVID-19 เป็นโรคร้ายแรง ทำให้เกิดการตื่นตระหนกของประชาชนทั่วโลกและคนไทย ซึ่งพบการระบาดไปในหลายปรเทศส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจสังคมอย่างรุนแรง สถานการณ์การระบาดระบาดกำลังแพร่ะกระจายยังไม่สามารถควบคุมได้ สาเหตุการเสียชีวิตส่วนใหญ่ ไวรัส COVID-19 จะทำให้เกิดการไข้สูง จาม ไอ การอักเสบของปอดและเยื้อหุ้มปอดอย่างรุนแรง แต่อย่างไรก็ตามอัตราการตายไม่ได้สูงมากนักเพียง 1-3% ร้ายแรงน้อยกว่า SAR ซึ่งมีอัตราการตาย 10% ดังนั้น มาตรการป้องกันไม่ให้ติดโรค COVID-19 นั้นถือว่าจำเป็น ด้วยการดำเนินมาตรการการรักษาร่างกายให้แข็งแรง ออกกำลังกายเพื่อมิให้ป่วย การป้องกันตนเอง เช่น หลีกเลี่ยงการเดินทางไปในประเทศหรือสถานที่มีคนพลุกพล่าน การล้างมือให้สะอาดอย่างถูกต้อง ทั้งด้วยแอลกอฮอล์เจล สบู่ การสวมหน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธีการ การไม่นำเอามือมาป้ายหรือ จับหน้า ความรู้ความเข้าใจการดำเนินไปของโรค เป็นสิ่งสำคัญ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง มีอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติงถึง พ.ศ. 2552 มาตรา 67 ที่ อบต.มีอำนาจหน้าที่จัดทำสามารถจำแนกได้ (3) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ และอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามมาตรา 16 มาตรา 17 แห่งพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 ดังนั้น เพื่อเตรียมการช่วยเหลือทาง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อ 1.เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจให้แก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรค

ร้อยละ 100 ประชาชนมีความรู้เรื่องอาการของโรคไวรัสโคโรนา (COVID -19)

0.00
2 ข้อ 2.เพื่อสร้างความเข้าใจการสวมหน้ากาก การมีหน้ากากอนามัยไว้ใช้เอง

ร้อยละ 100 ประชาชนมีหน้ากากผ้าไว้ใช้เองและสามารถสวมหน้ากากถูกต้องเพื่อป้องกัน โรคไวรัสโคโรนา (COVID - 19)

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 200,000.00 5 172,933.50
16 มี.ค. 63 - 30 ก.ย. 63 กิจกรรมที่ 1 เฝ้าระวังกลุ่มบุคคลที่มาจากที่อื่น โดยขึ้นทะเบียนกับผู้ใหญ่บ้าน หรือเจ้าหน้าที่ควบคุมโรคในพื้นที่ประเมินสุขภาพและคัดกรองบุคคลที่มาจากที่อื่น 0 9,600.00 9,600.00
16 มี.ค. 63 - 30 ก.ย. 63 กิจกรรมที่ 2 ประชุมชี้แจงมาตรการป้องกันและควบคุมโรคและแนะนำการล้างมือและสวมหน้ากากอนามัยแก่ประชาชน 0 0.00 0.00
16 มี.ค. 63 - 30 ก.ย. 63 กิจกรรมที่ 3 จัดทำหน้ากากอนามัยและจัดหาเจลล้างมือให้แก่สถานที่สำคัญและศาสนสถาน กลุ่มเสี่ยง 0 74,382.00 48,006.50
2 เม.ย. 63 - 30 ก.ย. 63 กิจกรรมที่ 4 ลงเคาะประตูบ้านเพื่อประชาสัมพันธ์ความรู้ให้กับประชาชน และประชาสัมพันธ์ผ่านทางรถประชาสัมพันธ์ 0 13,752.00 13,752.00
2 เม.ย. 63 - 30 ก.ย. 63 กิจกรรมที่ 5 การป้องกันและควบคุมโรค 0 102,266.00 101,575.00

1.ประชุมชี้แจง ผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องทราบภารกิจ 2.แต่งตั้งคณะทำงาน เพื่อดำเนินการออกป้องกันและควบคุมโรคในพื้นที่ 3.จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นในการป้องกันและควบคุมโรค เช่น น้ำยาฆ่าเชื้อ เครื่องพ่น รองเท้าบู๊ท ชุดปฏิบัติงาน หน้ากากอนามัย แว่นตา จัดหาเจลล้างมือแก่หน่วยงาน และจัดหาวัสดุในการทำหน้ากากผ้า เนื่องจากหน้ากากอนามัยไม่มีในท้องตลาด เป็นต้น 4.ดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรค 5.ประสานแผนการดำเนินงาน กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 6.ติดตามเฝ้าระวังจุดเกิดโรคเพื่อควบคุมป้องกันกำกับและติดตามค้นหาผู้ป่วย 7.ติดตามประเมินผลสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานและรายงานผล

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคไวรัสโคโรนา (COVID-19) 2.ประชาชนมีพฤติกรรมที่สามารถป้องกันโรคไวรัสโคโรนา (COVID-19)

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 เม.ย. 2563 14:01 น.