กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกียร์


“ คัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ลดโรค ไร้พุงชาวตำบลเกียร์ ประจำปีงบประมาณ 2560 ”

ตำบลเกียร์ อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางแฉล้ม เพ็ชรนิล

ชื่อโครงการ คัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ลดโรค ไร้พุงชาวตำบลเกียร์ ประจำปีงบประมาณ 2560

ที่อยู่ ตำบลเกียร์ อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2530-1-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"คัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ลดโรค ไร้พุงชาวตำบลเกียร์ ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกียร์ อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกียร์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
คัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ลดโรค ไร้พุงชาวตำบลเกียร์ ประจำปีงบประมาณ 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " คัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ลดโรค ไร้พุงชาวตำบลเกียร์ ประจำปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกียร์ อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2530-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกียร์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสำคัญระดับโลกซึ่งส่งผลคุกคามต่อสุขภาพของประชาชน และการพัฒนาประเทศสำหรับประเทศไทยถึงแม้จะมีแผนงานที่ดำเนินการเกี่ยวข้องกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรังต่างๆ อัน ได้แก่ แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙ แผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๖๓ แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙ และแผนงานยุทธศาสตร์สุขภาพกระทรวงสาธารณสุข ด้านส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นต้น ซึ่งเป้าหมาย ที่สำคัญ คือ การจัดการโรคสำคัญ ๕ โรค ได้แก่ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมองและโรคมะเร็งแต่การจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังดังกล่าวในระดับปฏิบัติการยังมีความไม่ชัดเจน ในเรื่องของรูปแบบ โดยเฉพาะบริบทของการให้การบริการ ซึ่งมีความแตกต่างจากการให้บริการกลุ่มโรคเฉียบพลัน ดังนั้นควรมีการปรับปรุงระบบการให้บริการ เพื่อให้เหมาะสมกับบริบท และแผนยุทธศาสตร์ของประเทศ โรคเรื้อรังเป็นปัญหาสาธารณสุข ที่มีผลกระทบต่อกระบวนการพัฒนาของบุคคล ที่เกิดขึ้นอทรัพยากรบุคคลและเศรษฐกิจ โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง เกิดจากพฤติกรรมและวิถีการดำเนินชีวิตซึ่งสามารถป้องกันและปรับเปลี่ยนได้ จากการดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไอยามู ใน ปี ๒๕๕๙ พบว่ามีประชากรอายุมากกว่า ๓๕ ปี ทั้งหมด ๘๒๔ คน ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงจำนวน ๑๘๔ คนคิดเป็นร้อยละ๒๒.๓๓ ป่วยเป็นโรคเบาหวานจำนวน3 คนคิดเป็นร้อยละ ๐.๓๖ และป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานจำนวน ๓๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๔ และพบว่าในประชากรที่เป็นโรคดังกล่าว สามารถควบคุมโรคให้อยู่ในระดับปกติได้ มีจำนวนน้อยมาก ยังอยู่ในระดับต่ำกว่าเกณฑ์ ซึ่งผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี(ระหว่าง 70 ถึง 130 mg/d) จะต้องไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๔๐, ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี (ต่ำกว่า 140/90 mmHg)ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ จากปัญหาดังกล่าวที่พบในข้างต้นพบว่าหากปล่อยให้ภาวะโรคเรื้อรังคุกคามประชากรอยู่สิ่งที่จะตามมาคือโรคหัวใจและหลอดเลือด (cardiovascular diseases; CVDs) ส่งผลให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย (peripheral arterial disease) เป็นโรคของความผิดปกติ ของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงแขนและขา ส่งผลให้เกิดแผลตามปลายมือปลายเท้า ซึ่งในผู้ป่วยโรคเรื้อรังจะมีการไหลเวียนของเลือดไม่สมบูรณ์ทำให้การหายของแผลช้าอาจเกิดการติดเชื้อและลุกลามถึงขั้นต้องตัดอวัยวะในส่วนนั้นทิ้ง โรคหลอดเลือดดำ ที่ขาอุดกั้นและภาวะลิ่มเลือดอุดกั้นที่ปอด (deep vein thrombosis and pulmonary embolism) เป็นภาวะที่มีการแข็งตัวของเลือดบริเวณเส้นเลือดดำ ที่ขา ซึ่งลิ่มเลือดอาจหลุดไปที่หัวใจหรือปอด โรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตอันดับหนึ่งทั่วโลก นอกจากนี้โรคเรื้อรังยังทำให้เกิดหลอดเลือด ตีบ แตก ตัน ในอวัยวะส่วนต่างๆได้ แล้วนั้นหากเกิดภาวะนี้ในสมองสิ่งที่จะตามมาก็คือ อัมพฤกษ์ อัมพาต ซึ่งทำให้ผู้ป่วยช่วยเหลือตัวเองได้น้อยหรือไม่ได้เลย กลายเป็นภาระให้แก่ญาติ ผู้ดูแลและสังคม
ดังนั้นในปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ไอยามู จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ลดโรค ไร้พุงชาวตำบลเกียร์ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐ รวมถึงคัดกรองผู้ที่เป็นโรคเรื้อรังแล้ว ว่าสามารถควบคุมโรคให้อยู่ในภาวะปกติได้หรือไม่ ในเขตหมู่ ๑-๕ตำบลเกียร์ อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส
ย่างถาวรไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ทำให้การดำเนินชีวิตเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม สังคมครอบครัวต้องรับภาระ ดูแลส่งผลให้การดำเนินชีวิตของสมาชิกครอบครัวเปลี่ยนแปลง สูญเสีย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีขนาดรอบเอว น้ำหนักและ ดัชนีมวลกายอยู่ในค่าปกติ
  3. เพื่อให้กลุ่มป่วยด้วยโรคความดัน เบาหวาน มีการ ปรับพฤติกรรมและสามารถคุมระดับความดัน โลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 827
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    กลุ่มเป้าหมายไม่เจ็บป่วยด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน หรือ สามารถควบคุมให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีขนาดรอบเอว น้ำหนักและดัชนี มวลกายอยู่ในค่าปกติ ร้อยละ ๘๐

     

    2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีขนาดรอบเอว น้ำหนักและ ดัชนีมวลกายอยู่ในค่าปกติ
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงโรคความดัน เบาหวาน สามารถปรับ พฤติกรรม(ค่าความดันปกติ)ได้ร้อยละ ๓๐

     

    3 เพื่อให้กลุ่มป่วยด้วยโรคความดัน เบาหวาน มีการ ปรับพฤติกรรมและสามารถคุมระดับความดัน โลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดได้
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน สามารถปรับพฤติกรรม (ระดับน้ำตาลในเลือดปกติ)ได้ร้อยละ ๒๐

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 827
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 827
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีขนาดรอบเอว น้ำหนักและ ดัชนีมวลกายอยู่ในค่าปกติ (3) เพื่อให้กลุ่มป่วยด้วยโรคความดัน เบาหวาน มีการ ปรับพฤติกรรมและสามารถคุมระดับความดัน
    โลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    คัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ลดโรค ไร้พุงชาวตำบลเกียร์ ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-L2530-1-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางแฉล้ม เพ็ชรนิล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด