กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเจาะเลือดค้นหาผู้ป่วยมาลาเรีย (63-l4123-02-11)
รหัสโครงการ 63-l4123-02-11
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อสม.รพ.สต.บ้านกือลอง
วันที่อนุมัติ 27 มีนาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ธันวาคม 2563
งบประมาณ 37,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางธนพร ณรงค์ฤทธิ์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคมาลาเรียน ยังเป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญในประเทศไทย จำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี แม้ผู้ป่วยจะได้รับการรักษาในโรงพยาบาลมากขึ้นแต่อัตราการตายจากมาลาเรีย ยังคงสูงและในแต่ละปีมีผู้เสียชีวิตทั่วโลกประมาณ 627,000คนโดยส่วนใหญ่จะเสียชีวิตจากมาลาเรียขึ้นสมอง เป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่ส่งผลกระทบต่อชีวิตและสุขภาพประชาชน สถานการณ์ทั่วไปของโรคไข้มาลาเรียช่วย ปี 2560 2561 พบผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรีย 8,19 และ 17,570 ราย อัตราป่วยด้วยโรคมาลาเรียนต่อพันประชากร 0.14,0.21 ตามลำดับโดยจังหวัดยะลา พบผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรีย เป็นพื้นที่หนึ่งที่มีการระบาดของโรคมาลาเรีย อย่างต่อเนื่องทุกปี จึงได้มีการเน้นให้มีการควบคุมโรคมาลาเรียเป็นนโยบายหลักของงานด้านสาธารณสุข อำเภอบันนังสตา เป็นอำเภอหนึ่งท่ีมีการระบาดของโรคมาลาเรียของจังหวัดยะลา โดยเฉพาะเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านกือลองพบผู้ป่วย จำนนวน 20 ราย พบมากที่หมู่ท่ี 9 เหมืองคีรีลาด และพบการระบาดอย่างต่อเนื่อง ปี 2561 2562 สาเหตุจากยุงก้นปล่องที่เป็นพาหะนำโรค ประกอบกับสภาพพื้นท่ีของตำบลที่มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการระบาดของโรค ดังนั้นเพื่อไม่ให้มีการระบาดของโรคมาลาเรีย จึงต้องมีการป้องกันโดยการสร้างความเข้าใจ ให้ความสำคัญ และให้ความร่วมมือในการพ่นสารเคมีตกค้างในบ้านเพื่อให้เกิดความร่วมมือในชุมชนอย่างจริงจัง นำไปสู่การป้องกันโรคไข้มาลาเรียได้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชานชนกลุ่มเป้าหมายมีการป้องกันตนเองจากไข้มาลาเรียที่ถูกต้อง

ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความตระหนักในการป้องกันตนเองและครอบครัวส่งผลให้อัตราป่วยด้วยโรคมาลาเรียลดลง

100.00 80.00
2 เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่โดยการเจาะเลือดหาเชื้อมาลาเรียเพื่อจะรับการรักษาทันที

ผู้ป่วยรายใหม่ที่ยังไม่แสดงอากาสามารถได้รับการรักษาได้ทันทีส่งผลให้ลดการระบาดของโรคมาลาเรียนในพื้นที่

100.00 85.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 37,600.00 0 0.00
1 ก.ย. 62 - 31 ต.ค. 63 ลงพื้นที่ 0 19,800.00 -
1 ก.ย. 62 - 31 ต.ค. 63 พ่น UIV 0 17,800.00 -

1.ชี้แจงการดำเนินงานให้กับ อสม.ในพื้นที่ 2.จัดทำแผนปฏิบัติงาน/แผนลงพื้นที่ 3.จัดซื้ออุปกรณ์ในการเจาะเลือดหาเชื้อโรคไข้มาลาเรีย 4.เจาะเลือดค้นหาเชื้อมาลาเรียโดยพนักงานมาลาเรียชุมชน (MPW) ร่วมกับ อสม. ในพื้นที่รับผิดชอบ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความตระหนักในการป้องกันตนเองและครอบครัวส่งผลให้อัตราการป่วยด้วยโรคมาลาเรียลดลง 2.ผู้ป่วยรายใหม่ที่ยังไม่แสดงอาการสามารถได้รับการรักษาได้ทันทีส่งผลให้ลดการระบาดของโรคมาลาเรียในพื้นที่

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 เม.ย. 2563 09:05 น.