กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ผลการดำเนินงาน เป้าหมายผู้เข้าร่วมอบรม  170 คน  มาอบรม 170  คน  ถีอ ว่า 100%  และมีผู้เข้าร่วมโครงการไปถ่ายทอด เกิดกิจกรรมต่อเนื่อง มากกว่า 3,970 คน
    -นักเรียนมีความรู้ในการรักษาความสะอาด รู้จักเก็บขยะ และทิ้งขยะถูกที่ -นักเรียนได้ใช้เวลาว่างทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม -ได้แนวทางและรูปแบบการจัดกิจกรรมเพื่อปลูกจิตสำนึกด้านอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาสุขภาพของท้องถิ่นอย่างยั่งยืน       
    -นักเรียนและประชาชนเกิดแนวที่ดีต่อการจัดการขยะมูลฝอย และเข้าใจคุณค่าของสิ่งต่างๆ ว่าวัสดุบางประเภท  สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้หลายครั้ง  หรือสามารถเปลี่ยนเป็นเงินได้ -การมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมอย่างเป็นระบบในการการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจากภูมิปัญญาของบุคลากร  หน่วยงานและองค์กรในท้องถิ่น

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑ เพื่อให้บุคลากรและนักเรียนมีความรู้ในการดำเนินการคัดแยกขยะที่ถูกวิธี
ตัวชี้วัด :

 

2 2 เพื่อสร้างแกนนำในการปลูกจิตสำนึกในด้านการรักษาความสะอาด
ตัวชี้วัด :

 

3 3 เพื่อสร้างจิตสำนึกให้บุคลากรและนักเรียนเกิดความตระหนักถึงผลเสียที่จะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขอนามัย หากมีการจัดการขยะอย่างไม่เหมาะสม
ตัวชี้วัด :

 

4 4 เพื่อให้ระบบการบริหารจัดการขยะในโรงเรียนมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด :

 

5 5 โรงเรียนสะอาดมีขยะตามพื้นลดน้อยลง และมีรายได้จากการขายขยะ
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 170
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 170
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑ เพื่อให้บุคลากรและนักเรียนมีความรู้ในการดำเนินการคัดแยกขยะที่ถูกวิธี (2) 2 เพื่อสร้างแกนนำในการปลูกจิตสำนึกในด้านการรักษาความสะอาด (3) 3 เพื่อสร้างจิตสำนึกให้บุคลากรและนักเรียนเกิดความตระหนักถึงผลเสียที่จะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขอนามัย หากมีการจัดการขยะอย่างไม่เหมาะสม (4) 4 เพื่อให้ระบบการบริหารจัดการขยะในโรงเรียนมีประสิทธิภาพ (5) 5 โรงเรียนสะอาดมีขยะตามพื้นลดน้อยลง และมีรายได้จากการขายขยะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh