กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลอเสี่ยง ลดโรคห่างไกลจากโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง
รหัสโครงการ 60-L4116-4-6
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลูโบ๊ะปันยัง
วันที่อนุมัติ 13 กรกฎาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2560 - 31 ตุลาคม 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 36,783.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอับดุลเลาะ สะรี
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวซัลมา หะยีสะมะแอ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.449,101place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.ร้อยละ100 ของผู้ป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับยาอย่างต่อเนื่อง

 

2 2.ร้อยละ50 ของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีความรู้ในเรื่องโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง การดูแลสุขภาพการับประทานอาหารและยา การออกกำลังกาย การตรวจสุขภาพตา ไต เท้า ทั้งสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง

 

3 3.ร้อยละ 50 ของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงมีการควบคุมความดันโลหิตได้

 

4 4.ร้อยละ40 ของผู้ป่วยเบาหวานมีการควบคุมระดับน้ำตาลได้

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.ติดป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ 2.จัดอบรบให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ 2 ส ฝึกปฏิบัติการออกกำลังกาย และตรวจคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ร้อยละ100 ของผู้ป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับยาอย่างต่อเนื่อง
2.ร้อยละ50 ของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีความรู้ในเรื่องโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง การดูแลสุขภาพการับประทานอาหารและยา การออกกำลังกาย การตรวจสุขภาพตา ไต เท้า ทั้งสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง 3.ร้อยละ 50 ของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงมีการควบคุมความดันโลหิตได้ 4.ร้อยละ40 ของผู้ป่วยเบาหวานมีการควบคุมระดับน้ำตาลได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 25 พ.ค. 2560 10:28 น.