กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงอายุ "สุขกาย สบายใจ"
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมผู้สูงอายุอำเภอเบตง
วันที่อนุมัติ 12 มกราคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ -
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 146,900.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายทวีปจิรรัตนโสภา
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 5.803,101.009place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 900 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สังคมไทยก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ หมายความว่าประชากรที่มีอายุ 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไปมีจำนวน และสัดส่วนมากขึ้นซึ่งองค์การสหประชาชาติให้คำนิยามว่าประเทศใดที่มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป เป็นสัดส่วนร้อยละ 10 หรืออายุ 65 ปี ขึ้นไปเกินร้อยละ 7 ของจำนวนประชากรทั้งหมดถือว่าประเทสนั้นได้ก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุดดยสมบูรณ์เมื่อสัดส่วนประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จาก 7.0 ล้านคน หรือร้อยละ 10.7 ในปี 2550 เป็น 7.5 ล้านคน หรือร้อยละ 11.7 ในปี 2553 และคาดว่าจะเพิ่มเป็น 14.5 ล้านคนหรือร้อยละ 20 ในปี 2568 หรือ 1 ใน 5 จะเป็นประชากรผู้สูงอายุ ในขณะที่แนวโน้มผู้สูงอายุอยู่คนเดียวหรืออยู่ลำพังกับคู่สมรสเพิ่มมากขึ้น โดยพบว่าผู้สูงอายุอยู่คนเดียวเพิ่มจากร้อยละ 3.6 ในปี 2537 เป็น 7.6 ในปี 2560 ซึ่งมีผลต่อการให้การดูแลผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกายและจิตใต อายุยิ่งสูงยิ่งเจ็บป่วยโดยเฉพาะเจ็บป่วยด้วยโรคไร้เชื้อ เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน หรือไขมันในเลือดสูงมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น รักาาไม่หาย มีภาวะการณ์พึ่งพาต้องการการดูแลอย่างต่อเนื่องและดูแลระยะยาว ในสังคมไทยยกย่องและถือว่าผู้สูงอายุเป็นบุคคลสำคัญที่มีคุณค่าของครอบครัวและชุมชนดังนั้น ผู้สูงอายุควรดูแลสุขภาพร่างกายของตนให้มีปัญหาน้อยที่สุด ซึ่งจะมีผลต่อจิตใจให้สดชื่น แจ่มใส ช่วยให้คนรอบข้างทั้งสังคมและครอบครัวมีความสุขด้วย ซึ่งในปัจจุบันผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตงมีประมาณ 2,794 คน โดยโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุจะเกียวข้องกับภาวะโภชนนการ เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โคไขมันในเลือดสูง นอกจากโรคที่เกี่ยวกับโภชนการแล้วภาวะเสี่ยงที่ผู้สูงอายุ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้และใช้เป็นแนวทางปฏิบัติในการดูแลสุขภาพตนเองอย่างถูกต้อง ส่งผลให้มีสุขภาพดีทั้งร่างกายและจิิตใจ 2. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สูงอายุรู้จักปรับสภาพแวดล้อมภายในบ้านพักอาศัยให้เมาะสมเอื้อต่อการดำรงชีวิตประจำวัน 3. เพื่อสนับสนุนให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลช่วยเหลือตนเองได้ตามความเหมาะสม 4. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคจากภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ 5. เพื่อส่งเสริมให้เกิดการจัดกิจกรรมที่เป็นประโยชน์แก่ผู้สูงอายุ

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. เชิญประชุมคณะกรรมการชุมชน/คณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุรภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเข้าร่วมประชุมปรึกษาหารือแนวทางแลพกำหนดวิธีการดำเนินโครงการ
  2. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 3.การจัดเตรียมโครงการ
    • ประสานกับหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง
    • ประชาสัมพันธ์การจัดโครงการ
    • เตรียมอุปกรณ์ สถานที่จัดโครงการ
  3. ประเมินผลโครงการ สรุปและรายงานผล
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ทำให้ผู้สูงอายุมีความรู้สามารถใช้เป็นแนวทางแฏิบัติในการดูแลสุขภาพตนเองอย่างถูกต้อง ส่งผลให้มีสุขภาพดีทั้งร่างกายและจิตใจ
  2. ทำให้ผู้สูงอายุสามารถช่วยเหลือตนเองได้ตามความเหมาะสม
  3. ทำให้อัตราการเกิดโรคจากภาวะโภชนาการในกลุ่มผู้สูงอายุลดลง
  4. ทำให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ รู้จักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพของตนเอง ทั้งด้านโภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพด้านร่างกายรู้จักปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม
  5. ทำให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้นลดภาวะการเกิดโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต และโรคซึมเศร้า
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 25 พ.ค. 2560 14:08 น.