กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. จัดเวทีเสวนาเรื่องโรคและภาวะแทรกซ้อนในผุู้ป่วยโรคเรื้อรังแก่แกนนำ อสม.ด้านโรคเรื้อรังและภาคีเครือข่าย  กลุ่มเป้าหมายให้ความสนใจและร่วมมือเป็นอย่างดี ตั้งใจฟังในเนื้อหา แลกเปลี่ยนความรู้ ความเข้าใจ และมีส่วนร่วมในการตอบคำถาม พร้อมทั้งมีการช่วยกันระดมความคิด ถึงแนวทางในการดูแลผู้ป่วย  กลุ่มดังกล่าวให้มีประสิทธิภาพทั้งในคลีนิคและการดูแลต่อเนื่องในชุมชน เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนดังกล่าวได้อย่างต่อเนื่อง
  2. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องโรคและภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรังแก่ผู้ป่วยและตัวแทนผุ้ดูแลพร้อมทั้งแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางการปฏิบัติตัวอย่างไรเมื่อเป็นโรคเรื้อรัง  มีการจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเรื้อรัง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง และภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ กลุ่มเป้าหมายให้ความสนใจและร่วมมือเป็นอย่างดี ตั้งใจฟังในเนื้อหา และมีส่วนร่วมในการตอบคำถาม พร้อมทั้งแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางการปฎิบัติตัวเพื่อควบคุมโรคและลดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรค รวมทั้งแลกเปลี่ยนผลการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในปีนี้ของแต่ละคน
  3. คัดกรองภาวะแทรกซ้อนแก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ทางตา ไต เท้า หัวใจ และหลอดเลือด ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากกลุ่มเป้าหมาย โดยนัดตรวจคัดกรองเป็นแต่ละกิจกรรมไป กลุ่มเป้าหมายบางส่วนติดภารกิจในวันดังกล่าว แต่ได้มีการติดตามและได้รับการตรวจร้อยละ 100
  4. ประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk assessment) แก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และคัดเลือกกลุ่มที่มีความเสี่ยง เข้าร่วมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน  การจัดกิจกรรมดังกล่าวได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากกลุ่มเป้าหมาย โดยได้นัดตรวจเป็นแต่ละหมู่บ้านไป ผลการประเมินส่วนใหญ่เป็นกลุ่มที่สามารถควบคุมได้  ส่งผลให้การประเมินส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงต่ำ โดยไม่มีผู้ป่วยรายใดอยู่ในกลุ่มที่ต้องรีบพบแพทย์และต้องรับรามารับประทาน เพราะผู้ป่วยส่วนนั้น ได้ดำเนินการส่งต่อไปยัง รพ.ควนโดนแล้ว หลังจากตรวจเลือด ตรวจตา และตรวจเท้า
  5. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และประกวด "บุคคลต้นแบบควบคุมน้ำตาลในเลือดและบุคคลต้นแบบควบคุมความดัน ปี 60 (DM/HT MODEL 60) ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากกลุ่มเป้าหมาย โดยได้คัดเลือกกลุ่มผู้ป่วยที่มีการควบคุมโรคอยู่ในสีเหลือง สีส้ม และสีแดง (กลุ่มควบคุมโรคได้ไม่ดี)  และกลุ่มที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน กลุ่มเป้าหมายให้ความสนใจเป็นอย่างดี ร่วมตอบข้อซักถามและมีการซักถามวิทยากรถึงแนวทางที่ควบคุมโรค และได้ร่วมแลกเปลี่ยนจากการประกวดบุคคลต้นแบบ ในการตอบคำถาม เพื่อคัดเลือกและจัดลำดับจากผู้ที่เข้ารอบ 10 ท่าน ถึงวิธีการปฏิบัติตัว ที่ส่งผลให้สามารถควบคุมโรคได้เป็นอย่างดี และสังเกตอาการต่างๆที่บ่งบอกภาวะแทรกซ้อน พร้อมแนวทางในการช่วยเหลือ กรณีเร่งด่วน ได้ถูกต้องและเหมาะสม 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้แกนนำ อสม.ด้านโรคเรื้อรัง มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด :

 

2 2. เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสำคัญของการควบคุมและป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคที่เหมาะสมกับกลุ่มสีของตน
ตัวชี้วัด :

 

3 3. เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า หัวใจ และหลอดเลือด ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยง ได้รับการเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้น/ได้รับยาในการตรวจรักษาอย่างคลอบคลุม
ตัวชี้วัด :

 

4 4. เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาล/ระดับความดันโลหิตได้ดีตามเป้าหมายในแต่ละระยะของโรคในผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนและ/หรือมีปัญหาการควบคุมได้ไม่ดีตามเป้าหมายอย่างต่อเนื่อง สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้รับการส่งต่อที่ถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 160
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 160
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้แกนนำ อสม.ด้านโรคเรื้อรัง มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (2) 2. เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสำคัญของการควบคุมและป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคที่เหมาะสมกับกลุ่มสีของตน (3) 3. เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า หัวใจ และหลอดเลือด ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยง ได้รับการเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้น/ได้รับยาในการตรวจรักษาอย่างคลอบคลุม (4) 4. เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาล/ระดับความดันโลหิตได้ดีตามเป้าหมายในแต่ละระยะของโรคในผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนและ/หรือมีปัญหาการควบคุมได้ไม่ดีตามเป้าหมายอย่างต่อเนื่อง สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้รับการส่งต่อที่ถูกต้องเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh