กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการโรคไข้เลือดออก บ้านหัวเขา หมู่ ๙ ตำบลฉลุง ปี ๒๕๖๓
รหัสโครงการ 63-L8409-02-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุขบ้านหัวเขา หมู่ที่ ๙
วันที่อนุมัติ 23 เมษายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2563
งบประมาณ 17,980.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ อาสาสมัครสาธารณสุขบ้านหัวเขา หมู่ที่ ๙
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.725,100.035place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 114 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

๑. จัดทำโครงการฯขออนุมัติงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง ๒. ดำเนินการประชาสัมพันธ์โรคไข้เลือดออกให้แกนนำประจำครอบครัวทุกหลังคาเรือน ๓. จัดเตรียมสถานที่สำหรับการอบรมเชิงปฏิบัติการแก่แกนนำประจำครอบครัวทุกหลังคาเรือน ๔. ส่งเสริมความรู้ให้แกนนำประจำครอบครัวในชุมชนเกี่ยวกับพืชไล่ยุง เช่นตะไคร้หอมไล่ยุง การเลี้ยงปลากินลูกน้ำ เช่นปลาหางนกยูง ๕. ให้สุขศึกษาประชชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออก แะขอความร่วมมือให้ประชาชนทำลายเเหล่งเพาะพันธุ์และจำกัดลูกน้ำยุงลาย ๖. ติดตามและประเมินความพึ่งพอใจการดำเนินกิจกรร ๗. ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน ทบทวนกิจกรรม ปัญหาและอุปสรรค แก้ไข ดำเนินงานต่อ ๘. สรุปผลโครงการฯส่งเจ้าของงบประมาณ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. สามารถลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายภายในบ้าน ชุมชน ให้ลดน้อยลง ๒. ทำให้ประชาชนในชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสม การป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออก ๓. ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินงานการควมคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ๔. ทำให้ประชาชนทำกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 พ.ค. 2563 13:44 น.