กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการการจัดการขยะในชุมชน
รหัสโครงการ 63-L5295-2-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 6 บ้านทุ่งขมิ้น
วันที่อนุมัติ 2 มิถุนายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 มิถุนายน 2563 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 14,100.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสุภาภรณ์ นวลจันทร์
พี่เลี้ยงโครงการ นายประชา หนูหมาด
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 7.048,99.817place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 182 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

ระบุ

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนประชาชนที่มีพฤติกรรมแยกขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)
50.00
2 ปริมาณขยะที่ครัวเรือนผลิตได้ต่อวัน (ก.ก.)
820.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

นับตั้งแต่อดีตมาสู่ปัจจุบัน ปัญหาขยะมูลฝอยเป็นปัญหาสำคัญที่อยู่คู่กับสังคมไทยมายาวนานและ นับวันยิ่งมีแนวโน้มทวีความรุนแรงมากขึ้น สาเหตุเนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะมูลฝอยทุกปีตามอัตราการ เพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร การขยายตัวทางเศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการอุปโภคบริโภคของ ประชาชน ในขณะเดียวกันปริมาณขยะมูลฝอยที่ได้รับการจัดการอย่างถูกต้องเพิ่มขึ้นในอัตราที่ต่ำ แม้ว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ทั้งการจัดเก็บ เคลื่อนย้าย รวมทั้งการกำจัด ถึงแม้จะมีการบริหารจัดการการจัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่อย่างต่อเนื่องขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นก็ตาม ก็ยังพบว่าขยะมีปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการคัดแยกขยะจากครัวเรือนต้นทางยังไม่มีประสิทธิภาพ ขาดการดำเนินการที่ต่อเนื่อง มีการทำตามกระแสเป็นระยะ
    ชุมชนหมู่ที่ 6 บ้านทุ่งขมิ้น จึงเล็งเห็นความสำคัญของการบริหารจัดการขยะอย่างจริงจัง โดยเน้นการจัดการตนเองในระดับครัวเรือน รณรงค์การคัดแยกขยะที่ต้นทาง การนำขยะมาใช้ประโยชน์ เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อย ชุมชนมีความสะอาด ปราศจากโรคภัย สิ่งแวดล้อมน่าอยู่ น่ามอง ต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการแยกขยะ

จำนวนประชาชนที่มีพฤติกรรมแยกขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)

50.00 182.00
2 เพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน

ปริมาณขยะที่ครัวเรือนผลิตได้ต่อวัน (ก.ก.)

820.00 500.00
3 ประชาชนมีความรู้ จิตสำนึกที่ดี ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการคัดแยกขยะในครัวเรือน
  1. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและการคัดแยกขยะในครัวเรือนเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
80.00
4 เพื่อลดปริมาณขยะในชุมชน
  1. ปริมาณขยะในชุมชุมหมู่ที่ 6 ลดลงมากกว่า 50%จากเดิม
50.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 498 14,100.00 5 14,100.00
15 มิ.ย. 63 - 30 ก.ย. 63 1. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการ คัดแยกขยะในครัวเรือน 182 6,350.00 6,350.00
15 มิ.ย. 63 - 30 ก.ย. 63 2. กิจกรรมการคัดแยกขยะใน ครัวเรือน 54 3,300.00 2,800.00
15 มิ.ย. 63 - 30 ก.ย. 63 3. กิจกรรมBig Cleaning Day 50 2,000.00 2,500.00
15 มิ.ย. 63 - 30 ก.ย. 63 5. กิจกรรมการประกวด ครัวเรือนต้นแบบการคัดแยกขยะในครัวเรือน “ครัวเรือนต้นแบบการคัดแยกขยะและมีเงินออมจากการนำขยะไปขายในธนาคารขยะประจำหมู่บ้าน” 182 1,200.00 1,200.00
1 ก.ค. 63 - 30 ก.ย. 63 จัดตั้งธนาคารขยะในชุมชน หมู่ที่ 6 บ้านทุ่งขมิ้น 30 1,250.00 1,250.00
  1. เสนอโครงการขออนุมัติจากผู้บริหาร
  2. ประสานงานเจ้าหน้าที่ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  3. ดำเนินงานตามแผนที่วางไว้
  4. สรุปและประเมินผลการทำโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนมีความรู้ จิตสำนึกที่ดี ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการคัดแยกขยะในครัวเรือน
  2. มีการคัดแยกขยะในครัวเรือน มากกว่าร้อยละ 80 ของครัวเรือนในชุมชนหมู่ที่ 6
  3. ปริมาณขยะในในชุมชนลดลงอย่างต่อเนื่อง
  4. รายได้จากการดำเนินงานธนาคารขยะในชุมชนนำมาเป็นกองทุนสนับสนุนการศึกษาของเยาวชนในหมู่บ้าน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 3 มิ.ย. 2563 13:03 น.