กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนด้วยการปลุกผักปลอดสารพิษเพื่อนำไปประกอบอาหารกลางวัน
รหัสโครงการ 2563-L3306-2-013
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านพูด กรป. กลาง
วันที่อนุมัติ 3 มีนาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 12 มิถุนายน 2563 - 30 มีนาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 เมษายน 2564
งบประมาณ 80,765.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายการิม สันอี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.349,99.958place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 300 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

ระบุ

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตามที่ สพฐ. กำหนดนโยบายให้โรงเรียนจัดบริการอาหารกลางวันแก่นักเรียนเพื่่อให้นักเรียนได้มีอาหารกลางวันรับประทานอย่างเพียงพอ ปัจจุบันโรงเรียนบ้านพูด กรป. กลาง ได้จัดบริหารอาหารกลางวันในโรงเรียน โดยดำเนินการจัดจ้างแม่ครัวมาประกอบอาหาร โดยการจัดซื้อจากตลาดชุมชน และตลาดทั่วไป ซึ่งพบว่าผักบางชนิดจะมีสารพิษตกค้าง ซึ่งทำให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพของนักเรียน ในระยะยาว
            ดังนั้น ทางโรงเรียนบ้านพูด กรป. กลาง จึงได้จัดทำโครงการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อนำไปประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียน อันจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการเจริญเติบโตของนักเรียน ซึ่งเป็นเยาวชนของชาติต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่้อส่งเสริมสุขภาพให้นักเรียนในโรงเรียนได้บริโภคผักปลอดสารพิษลดการได้รับสารเคมีตกค้าง
  1. นักเรียนได้บริโภคผักปลอดสารพิษในมื้อกลางวัน อย่างน้อยสัปดาห์ละ 5 ครั้ง
  2. นักเรียนได้เรียนรู้การปลูกผัก/เพาะเห็ด ปลอดสารพิษ และได้ปฏิบัติจริงเพื่อเป็นแนวทางในการดูแลสุขภาพ
0.00
2 เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการทำปุ๋ยอินทร์

นักเรียนได้เรียนรู้และปฏิบัติจริงเกี่ยวกับการทำปู่ยหมัก

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 600 80,765.00 3 80,765.00
12 มิ.ย. 63 - 23 ก.ค. 63 การทำป่๋ยหมัก 100 33,760.00 33,760.00
28 ก.ค. 63 - 5 ส.ค. 63 การทำแปลงผัก 200 47,005.00 47,005.00
1 ก.ย. 63 กิจกรรมนำผักสู่เมนูอาหาร 300 0.00 0.00
  1. ประชุมวางแผนจัดทำโครงการ แต่งตั้งคณะทำงาน เสนออนุมัติโครงการ
  2. ดำเนินงานตามโครงการ ตามกิจกรรม ดังนี้   2.1 ครูอบรมนักเรียนในการปฏิบัติการคัดแยกขยะ กำจัดขยะให้ถูกวิธีและจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการคัดแยก   2.2 จัดทำปุ๋ยหมักจากขยะอินทรีในโรงเรียน   2.3 ดำเนินการปลูกผัก/เพาะเห็ดปลอดสารพิษ       - ปรับพื้นที่ด้วยการขอความร่วมมือจากนักเรียนและผู้ปกครอง (พื้นที่ จำนวน 5 ไร่)       - ต่อท่อน้ำเพื่อใช้ในการรดน้ำผัก       - จัดหาพันธ์ผัก/เชื้อเห็ด เพื่อดำเนินการปลูก     - ครู นักเรียน ช่วยกันดูแลและบำรุงแปลงผัก     - ครู/นักเรียน นำผัก/เห็ด ปลอดสารพิษ ไปประกอบอาหารกลางวัน
  3. ประเมินโครงการ
  4. จัดทำรายงานโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. นักเรียนได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ
  2. นักเรียน/ครู สามารถจัดการขยะได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  3. นักเรียนสามารถนำแนวทางในการปลูกผัก/เห็ด กลับไปใช้ในการปลูกผักปลอดสารพิษที่บ้านได้
  4. ชุมชนได้บริโภคผักปลอดสารพิษ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 12 มิ.ย. 2563 14:10 น.