กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ส่งเสริม ควบคุม และการลด ละ เลิก การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
รหัสโครงการ 63-L7258-2-46
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ เครือข่ายองค์กรงดเหล้า จังหวัดสงขลา
วันที่อนุมัติ 17 กรกฎาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 31 กรกฎาคม 2563 - 14 สิงหาคม 2563
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 68,020.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวธิรดา ยศวัฒนะกุล
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.01,100.474place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสุรา
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เป็นที่ทราบกันดีว่าสุราและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทุกชนิดมีผลให้เกิดโรค NCDS เมื่อดื่มแล้วจะทำให้ เกิดผลต่อระบบประสาทส่วนกลางโดยโทษของสุรานั้นอาจมีตั้งแต่ขั้นเบา ไปจนถึงขั้นรุนแรงอย่างเช่น เสียการทรงตัว พูดไม่ชัด และที่รุนแรงคือหมดสติ และยังส่งผลให้ผู้ดื่มสุราแบบเสี่ยงอันตรายหรือการติดสุรา มีคุณภาพชีวิตต่ำลงอีกด้วย โทษของการดื่มสุราต่อสังคม 1.อุบัติเหตุจากการเมาแล้วขับ เนื่องจากผู้ดื่มสุรามักมั่นใจว่า ไม่เมา มีสติ สามารถขับรถได้ แต่ในความเป็นจริง สุราจะ ไปกดประสาทส่วนกลาง ทำให้การรับรู้เรื่องราวต่างๆ ช้าลง ส่งผลกระทบต่อระบบการตัดสินใจ ทำให้ไม่สามารถควบคุม ตนเองได้เต็มร้อย 2.ทะเลาะวิวาท สุรมีผลกระทบต่อสมองส่วนหน้า เป็นส่วนที่ควบคุมสติ และการตัดสินใจ ทำให้ทะเลาะวิวาทกับผู้อื่นได้ ง่าย 3.ฆาตกรรม ผลการศึกษาคดีฆาตกรรมจากการผ่าพิสูจน์ศพ พบว่า มากกว่า 60% ของผู้เสียชีวิต ตรวจพบแอลกอฮอล์ ในร่างกาย เพระการดื่มสุราจะช่วยให้ศูนย์ควบคุมจิตใจทำงานได้แย่ลง ทำให้ไม่สามารถป้องกันตัวได้ 4.ฆ่าตัวตาย ผลกาวิจัยพบว่า ในจำนวนคนกว่า 50% ของผู้ที่เคยฆ่าตัวตาย ต้องดื่มสุราเพื่อเรียกความกล้าก่อนเสมอ ประชาชนควรมีความรู้แลตระหนักถึงผลร้ายของเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ที่มีต่อสุขภาพของตนเอง ครอบครัว สังคม และควรมีการประชาสัมพันธ์ความรู้เกี่ยวกับ พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 ให้มากขึ้น เพื่อสร้างความตระหนักต่อการเคารพกฏหมายปลูกฝังให้เกิดเป็นค่านิยมสาธารณะเพื่อให้เครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ไม่เป็นสินค้าธรรมดาอีกต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ประชาชน ได้รับความรู้และตระหนักถึงผลร้ายของเครื่องดื่ม ที่มีแอลกอฮอล์ที่มีต่อสุขภาพ

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ไม่น้อยกว่า 50 % ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้รับความรู้และตระหนักถึงผลร้ายของเครื่องดื่ม ที่มีแอลกอฮอล์ที่มีต่อสุขภาพ

0.00
2 ประชาสัมพันธ์ความรู้เกี่ยวกับ พระราชบัญญัติ ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 เพื่อสร้างความตระหนักต่อการเคารพกฎหมาย

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ไม่น้อยกว่า 50 % ของผู้เข้าร่วมได้รับความรู้เกี่ยวกับ พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 และนำไปปฏิบัติได้

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 68,020.00 3 67,750.00
31 ก.ค. 63 - 14 ส.ค. 63 ให้ความรู้/สาธิต 0 33,300.00 33,300.00
31 ก.ค. 63 - 14 ส.ค. 63 ประชาสัมพันธ์ 0 34,520.00 34,250.00
30 ส.ค. 63 สรุปผลการดำเนินงาน 0 200.00 200.00

1.การส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ 2การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ให้ความรู้

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนเกิดความตระหนักถึงผลร้ายของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และไม่พาตัวเองหรือคนในครอบครัวเข้าไปยุ่ง เกี่ยวกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และมีทักษะในการปฏิเสธการชวนดื่มได้ 2.ประชาชนมีความรู้เรื่องโทษ พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 และสามารถปฏิบัติตามได้ 3.เกิดการปรับเปลี่ยนค่านิยมในการดื่ม
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 ก.ค. 2563 17:22 น.