กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์เด็กไทยใส่หมวกกันน็อค
รหัสโครงการ 63 –l1498-3-003
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศพด.อบต.น้ำผุด
วันที่อนุมัติ 13 กุมภาพันธ์ 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2563 - 31 กรกฎาคม 2563
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 5,924.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ ศพด.อบต.น้ำผุด
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลน้ำผุด อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.673,99.726place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานความปลอดภัยทางถนน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 150 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 หมวด 2 การกำหนดอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะ มาตรา ที่ 16 ให้เทศบาลเมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจหน้าที่ในการจัดระบบการบริหารสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเองดังนี้ (9) การจัดการศึกษา   ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ พ.ศ. 2561 มาตรฐานที่ 1 การบริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนและครอบครัว ตัวบ่งชี้ที่ 1.5.2 การจัดกิจกรรมที่พ่อแม่/ผ็ปกครอง/ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วม หลายประเทศทั่วโลกกำลังประสบปัญหาการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ของผู้บาดเจ็บหรือเสียชีวิตขณะขับขี่ยานพาหนะสองล้อ เช่น รถจักรยาน และจักรยานยนต์ และการเสียชีวิตและบาดเจ็บสาหัสส่วนใหญ่มาจาก อาการบาดเจ็บที่ศีรษะ ซึ่งหมวกนิรภัยมีประสิทธิภาพในการลดความเสี่ยงที่จะบาดเจ็บที่ ศีรษะและ ลดอาการรุนแรงของอาการบาดเจ็บลงได้ การส่งเสริมให้ผู้ขับขี่ สวมหมวกนิรภัยมากขึ้น จึงเป็นวิธีการสำคัญ ในการเพิ่มความปลอดภัย บนท้องถนน และเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพที่สุดในการลดการเสียชีวิตและการบาดเจ็บที่ศีรษะอันเนื่องมาจากอุบัติเหตุ ผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ที่ไม่สวมหมวกนิรภัยมีความเสี่ยงสูงที่จะได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะหรือเสียชีวิตจากการบาดเจ็บประเภทนี้ นอกจากนี้ผู้ขับขี่ที่ไม่สวม  หมวกนิรภัยยังเพิ่มภาระให้แก่โรงพยาบาลที่รับตัวเข้ารักษา เป็นภาระแก่บุคคล ครอบครัว (หรือผู้ดูแล) และสังคม หากต้องกลายเป็นคนพิการ องค์การบริหารส่วนตำบลน้ำผุดจึงได้จัดทำโครงการรณรงค์เด็กไทยใส่หมวกกันน็อคขึ้น เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในการขับขี่ยานพาหนะให้มีความปลอดภัยบนท้องถนนโดยการสวมหมวกนิรภัย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจถึงประโยชน์ของการสวมหมวกนิรภัยในการขับขี่ยานพาหนะให้มีความปลอดภัยบนท้องถนน 2. เพื่อส่งเสริมสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและป้องกันไม่ให้เกิดอุบัติเหตุในเด็กเล็ก
  • แบบทดสอบก่อนและหลังการฝึกอบรม
0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจถึงประโยชน์ของการสวมหมวกนิรภัยในการขับขี่ยานพาหนะให้มีความปลอดภัยบนท้องถนน 2. เพื่อส่งเสริมสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและป้องกันไม่ให้เกิดอุบัติเหตุในเด็กเล็ก

รวม 0 0.00 0 0.00

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

  1. จัดทำโครงการเพื่อขอรับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลน้ำผุด
  2. ติดต่อวิทยากรเพื่อบรรยายให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย
  3. เชิญผู้ปกครองซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม
  4. จัดกิจกรรมการฝึกอบรมตามโครงการรณรงค์เด็กไทยใส่หมวกกันน็อค ศพด.
  5. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทำแบบประเมินก่อนการอบรม
  6. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทำแบบประเมินหลังรับการอบรม
  7. สรุปผลการฝึกอบรม
  8. รายงานผลการดำเนินโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจถึงประโยชน์ของการสวมหมวกนิรภัยในการขับขี่ยานพาหนะให้มีความปลอดภัยบนท้องถนน
  2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีแนวคิด ทัศนคติ และวิสัยทัศน์ที่ดีในการสวมหมวกนิรภัย
    1. ผู้เข้าร่วมโครงการ/เด็กเล็กมีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและปลอดภัยจากการเกิดอุบัติเหตุ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 ก.ค. 2563 13:36 น.