กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงของประชาชนจากการได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืช โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองบัวน้อย ปี 2563
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองบัวน้อย
วันที่อนุมัติ 1 มกราคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 10,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายจีระศักดิ์ ขจรนาม นักวิชาการสาธารณสุข
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ หมู่ 8,9,10,11,12,13,14,15,19 และ 20 ตำบลบ้านเดื่อ อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 เกษตรกรในพื้นที่มีการใช้สารเคมีในการควบคุมและกำจัดศัตรูพืช (ร้อยละ)
80.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สารเคมีกำจัดศัตรูพืช สามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์และสัตว์ เมื่อร่างกายสะสมสารเคมีไว้จนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้จึงแสดงอาการต่างๆขึ้นมา เช่น โรคมะเร็ง โรคเลือดและระบบภูมิคุ้มกัน เป็นต้น ในเขตพื้นที่ตำบลบ้านเดื่อประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม มากถึงร้อยละ 80 มีการใช้สารเคมีในการควบคุมและกำจัดศัตรูพืชเป็นวงกว้าง ซึ่งการใช้สารเคมีอาจมีการใช้อย่างไม่ถูกวิธีและขาดความรู้ จึงทำให้มีผลกระทบกับสุขภาพโดยตรง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เกษตรกรผู้ใช้สารเคมีในการเกษตรได้รับการตรวจสุขภาพประจำปีโดยเจ้าหน้าที่

ร้อยละของเกษตรกรผู้ใช้สารเคมีในการเกษตรได้รับการตรวจสุขภาพประจำปีโดยเจ้าหน้าที่

200.00
2 เกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดในระดับเสี่ยงและไม่ปลอดภัย ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเรื่องการใช้สารเคมีในการเกษตรอย่างถูกต้องและปลอดภัย

ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดในระดับเสี่ยงและไม่ปลอดภัย ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเรื่องการใช้สารเคมีในการเกษตรอย่างถูกต้องและปลอดภัย

200.00
3 เกษตรกรที่เข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างซ้ำภายใน 1 เดือน

ร้อยละของเกษตรกรที่เข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างซ้ำ

200.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 10,000.00 4 10,000.00
1 ม.ค. 63 - 29 ก.พ. 63 ประชุมชี้แจงโครงการ จัดทำแผนงานโครงการ เพื่อเสนอขอรับงบประมาณสนับสนุน 0 0.00 0.00
1 มี.ค. 63 - 31 ก.ค. 63 เตรียมเครื่องและอุปกรณ์ในการตรวจคัดกรองโดยใช้กระดาษทดสอบเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรส 0 1,000.00 1,000.00
1 มิ.ย. 63 - 31 ก.ค. 63 ประชาสัมพันธ์ ประสานผู้นำชุมชนในพื้นที่ เพื่อเตรียมกลุ่มเป้าหมาย และกำหนดแผนการดำเนินงานตรวจคัดกรองหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่ตกค้างในเลือดเกษตรกร 0 0.00 0.00
1 ก.ค. 63 - 31 ส.ค. 63 ออกปฏิบัติงานนอกเวลาราชการในการดำเนินกิจกรรมตรวจหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในเกษตรกรในชุมชน 10 หมู่บ้าน 0 9,000.00 9,000.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจสารเคมีในเลือด
  2. เกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดในระดับเสี่ยงและไม่ปลอดภัย ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  3. เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงมีระดับสารเคมีในเลือด อยู่ในเกณฑ์ปกติและปลอดภัยเพิ่มขึ้น
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 ก.ค. 2563 11:09 น.