กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา


“ โครงการเตรียมความพร้อมสำหรับการเปิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19)) ”

ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางรุจิรา อาแว

ชื่อโครงการ โครงการเตรียมความพร้อมสำหรับการเปิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19))

ที่อยู่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L8287-3-04 เลขที่ข้อตกลง 20/63

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มิถุนายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเตรียมความพร้อมสำหรับการเปิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19)) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเตรียมความพร้อมสำหรับการเปิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19))



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเตรียมความพร้อมสำหรับการเปิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19)) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L8287-3-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มิถุนายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,018.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สำหรับการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Coronavirus) หรือ “ไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่” ซึ่งในภายหลังถูกตั้งชื่ออย่างเป็นทางการว่า “โควิด-19” (COVID-19) เริ่มต้นที่ประเทศจีน ตั้งแต่วันที่ 30 ธันวาคม 2562 ต่อมาได้พบผู้ป่วยยืนยันในหลายประเทศทั่วโลก และทางองค์การอนามัยโลกหรือ WHO ได้ประกาศให้เป็นโรค COVID-19 ระบาดใหญ่ (Pandemic) เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2563 ที่ผ่านมา โดยมีจำนวนผู้ป่วย และผู้เสียชีวิตเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก อย่างรวดเร็ว และมีอัตราการเสียชีวิตจากโรคประมาณร้อยละ 4.2 กลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงส่วนมากเป็นผู้สูงอายุ และผู้ที่มีโรคประจำตัว เช่น โรคหัวใจ โรคเบาหวาน
การระบาดของโรคดำเนินอยู่ในประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 13 มกราคม 2563 โดยเป็นประเทศที่มีผู้ป่วยยืนยันรายแรกนอกประเทศจีน การคัดกรองผู้เดินทางเข้าประเทศพบผู้ป่วยประปรายตลอดเดือนมกราคม ซึ่งเป็นผู้ที่เดินทางมาจากหรือเป็นผู้พำนักอยู่ในประเทศจีนแทบทั้งสิ้น การแพร่เชื้อท้องถิ่นที่มีรายงานรายแรกมีการยืนยัน เมื่อวันที่ 31 มกราคม จำนวนผู้ป่วยยังมีน้อยตลอดเดือนกุมภาพันธ์ โดยมีผู้ป่วยยืนยัน 40 ราย เมื่อสิ้นเดือน แต่จำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้นมากในกลางเดือนมีนาคม ซึ่งมีการระบุสาเหตุจากกลุ่มการแพร่เชื้อหลายกลุ่ม ซึ่งกลุ่มใหญ่สุดเกิดที่การชกมวยไทย เมื่อวันที่ 6 มีนาคม ผู้ป่วยยืนยันแล้วเพิ่มเกิน 100 คนต่อวัน ในอีก 1 สัปดาห์ต่อมา การตอบสนองของรัฐบาลต่อการระบาดเริ่มจากการคัดกรองและการติดตามการสัมผัส มีการคัดกรองโรคโควิด ๑๙ ตามท่าอากาศยานนานาชาติ ตลอดจนที่โรงพยาบาลสำหรับผู้ป่วยที่มีประวัติเดินทางหรือสัมผัส มีการสอบสวนโรคกรณีที่เกิดกลุ่มการระบาด กระทรวงสาธารณสุขเน้นการเฝ้าระวังตนเอง การรักษาความสะอาดโดยเฉพาะการล้างมือ และการเลี่ยงฝูงชน (หรือใส่หน้ากากอนามัยแทน) แม้บุคคลที่เดินทางมาจากประเทศเสี่ยงสูงจะได้รับคำแนะนำให้กักตนเอง แต่ยังไม่มีคำสั่งจำกัดการเดินทางจนวันที่ 5 มีนาคม และวันที่ 19 มีนาคม มีประกาศเพิ่มเติมให้ต้องมีเอกสารการแพทย์รับรองการเดินทางระหว่างประเทศ และคนต่างด้าวต้องมีประกันสุขภาพปลายเดือนมีนาคม สถานที่สาธารณะและธุรกิจห้างร้านได้รับคำสั่งให้ปิดในกรุงเทพมหานคร และอีกหลายจังหวัด ต่อมานายกรัฐมนตรีประยุทธ์ จันทร์โอชา ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน มีผลวันที่ 26 มีนาคม และมีประกาศห้ามออกนอกเคหะสถานยามวิกาล ตั้งแต่คืนวันที่ 3 เมษายน 2563 พระราชกำหนดสถานการณ์ฉุกเฉินยังสั่งงดจำหน่ายสุราชั่วคราวและให้ประชาชนชะลอการเดินทางข้ามจังหวัด สำหรับสถานศึกษา และกระทรวงสาธารณสุขได้ประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) เป็นโรคติดต่ออันตรายร้ายแรง ประกอบกับมติคณะรัฐมนตรีและหนังสือสั่งการ ที่กำหนดแจ้งให้ปิดสถานศึกษาทุกสังกัดทุกแห่ง และให้สถานศึกษาดำเนินการป้องกันและเฝ้าระวัง การแพร่ระบาดการติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) เพื่อเป็นการป้องกันและเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคดังกล่าว มิให้เกิดขึ้นแก่เด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ดังนั้นองค์การบริหารส่วนตำบลเทพาจึงประกาศให้ปิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และให้เปิดการเรียนการสอนอีกครั้งในวันที่ ๑ เดือนกรกฎาคม พ.ศ.๒๕๖๓ ตามคำสั่งกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น พร้อมทั้งกำหนดมาตรการป้องกันฝ้าระวังการแพร่ระบาดการติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ตามนโยบายที่กำหนด คือ การสวมใส่หน้ากากอนามัย การล้างมือด้วยสบู่หรือเจลแอลกอฮอล์ การเว้นระยะห่าง การล้างทำความสะอาดวัสดุ อุปกรณ์ และห้องต่างๆ เป็นต้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าโอนจึงได้จัดทำโครงการเตรียมความพร้อมสำหรับการเปิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) เพื่อดำเนินการจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ที่มีความจำเป็นสำหรับใช้ในการป้องกันและควบคุมโรคดังกล่าวข้างต้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อควบคุมป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าโอน
  2. เพื่อให้เด็กเรียนรู้วิธีการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ (COVID ๑๙)
  3. เพื่อให้ผู้ปกครองได้ตระหนักถึงความสำคัญต่อการป้องกันเด็กจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ (COVID ๑๙)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การคัดกรองเด็กก่อนเข้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  2. สวมใส่หน้ากากอนามัย
  3. ล้างมือ
  4. การรณรงค์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 93
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สามารถควบคุม ป้องกันการระบาดของโรคโควิด-19 ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้ระดับหนึ่ง
  2. เพื่อให้เด็กเรียนรู้วิธีการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ (COVID ๑๙)
  3. เพื่อให้ผู้ปกครองได้ตระหนักถึงความสำคัญต่อการป้องกันเด็กจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ (COVID ๑๙)

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. สวมใส่หน้ากากอนามัย

วันที่ 15 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

เด็กของศูนย์ฯสวมใส่หน้ากากอนามัยทุกวันที่มาโรงเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กของศูนย์ฯ 93 คน สวมใส่หน้ากากอนามัย

 

93 0

2. การคัดกรองเด็กก่อนเข้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

วันที่ 15 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. เด็กและผู้ปกครองทุกคนจะได้รับการแสกนอุณหภูมิร่างกายเมื่อมาที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  2. ผู้ปกครองลงชื่อและข้อมูลอุณหภูมิร่างกาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กของศูนย์ฯ 93 คน และผู้ปกครองเด็ก ทุกคนได้รับการวัดอุณหภูมิ

 

93 0

3. ล้างมือ

วันที่ 15 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ให้เด็กล้างมือก่อนเข้าห้องเรียน และไม่อนุญาติให้ผู้ปกครองเข้าไปในอาคารเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กของศูนย์ฯ 93 คน

 

93 0

4. การรณรงค์

วันที่ 15 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ติดป้ายมาตรการป้องกันโรคเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และขั้นตอนการล้างมือถูกวิธี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กของศูนย์ฯ 93 คน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

การดำเนินโครงการหลังจากได้รับงบประมาณคือ ดำเนินงานจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ ต่างๆ ที่มีความจำเป็นต้องใช้ในการป้องกันโรคเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด ๑๙) ทั้งนี้วัสดุ อุปกรณ์บางอย่างสามารถจัดซื้อ หรือจัดจ้างแล้วนำมาใช้ประโยชน์ได้ทันที ได้แก่ กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมการคัดกรองเด็กก่อนเข้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมสวมใส่หน้ากากอนามัย กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมล้างมือ     กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมการรณรงค์
ทั้งนี้ในส่วนของการทำอ่างล้างมือดำเนินการโดยจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ ที่เกี่ยวข้องและทำการประกอบพร้อมตกแต่งตามแบบที่กำหนดไว้ หลังจากที่ได้ดำเนินการตามที่กำหนดแล้วนั้น การปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและควบคุมของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก็ดำเนินการโดยการประชุมผู้ปกครองก่อนเปิดภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ และวันเปิดเรียนทุกคนต้องปฏิบัติตามแนวทางและมาตรการของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่กำหนดไว้ คือ ๑. ครูติดป้ายมาตรการป้องกันโรคเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด ๑๙) และขั้นตอนการล้างมือที่ถูกวิธี ๒. เด็กและผู้ปกครองทุกคนจะได้รับการแสกนอุณหภูมิร่างกายเมื่อมาที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
๓. ผู้ปกครองลงชื่อ และข้อมูลอุณหภูมิร่างกาย ๔. ให้เด็กล้างมือก่อนเข้าอาคารเรียน และไม่อนุญาตให้ผู้ปกครองเข้าไปในอาคารเรียน ๕. ในการรอเขียนชื่อ ทุกคนต้องมีการเว้นระยะห่าง ๖. การอยู่ร่วมกันในชั้นเรียนของเด็กมีการใช้มาตรการเวนระยะห่าง และให้เด็กล้างมือบ่อยๆ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อควบคุมป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าโอน
ตัวชี้วัด : สามารถควบคุม ป้องกันการระบาดของโรคโควิด-19 ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้ระดับหนึ่ง เพื่อไม่ให้เกิดการระบาดเพิ่มขึ้น
90.00 90.00

 

2 เพื่อให้เด็กเรียนรู้วิธีการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ (COVID ๑๙)
ตัวชี้วัด : เด็กเรียนรู้วิธีการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) ได้อย่างสมวัย
100.00 90.00

 

3 เพื่อให้ผู้ปกครองได้ตระหนักถึงความสำคัญต่อการป้องกันเด็กจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ (COVID ๑๙)
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองได้ตระหนักถึงความสำคัญต่อการป้องกันเด็กจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ (COVID ๑๙)
100.00 95.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 93 93
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 93 93
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อควบคุมป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าโอน (2) เพื่อให้เด็กเรียนรู้วิธีการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) (3) เพื่อให้ผู้ปกครองได้ตระหนักถึงความสำคัญต่อการป้องกันเด็กจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ (COVID ๑๙)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การคัดกรองเด็กก่อนเข้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (2) สวมใส่หน้ากากอนามัย (3) ล้างมือ (4) การรณรงค์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการเตรียมความพร้อมสำหรับการเปิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19))

รหัสโครงการ 63-L8287-3-04 รหัสสัญญา 20/63 ระยะเวลาโครงการ 10 มิถุนายน 2563 - 30 กันยายน 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการเตรียมความพร้อมสำหรับการเปิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19)) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L8287-3-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรุจิรา อาแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด