กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการรู้สิทธิ บริโภคปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ
รหัสโครงการ 60-L5192-1-8
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.ท่าไทร
วันที่อนุมัติ 6 มีนาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 23,100.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางพรเพ็ญ ทองขาว
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.721,100.93place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การเปลี่ยนของสังคมในปัจจุบัน ส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของเราทุกคนในทุกๆด้าน ได้แก่ อาหาร การใช้ผลิตภัณฑ์ แม้แต่สื่อที่มีการโฆษณาเกินจริง ส่งผลต่อการตัดสินใจผู้บริโภค บางครั้งก็ได้รับผลดีต่อร่างกาย และบางครั้ง กลับให้เสียภาพ เพราะ พบว่า มีผู้ผลิตจำนวนไม่น้อย ที่ไม่คำนึงถึงความปลอดภัยของผู้บริโภค ดังนั้นเพื่อคุ้มครองผู้บริโภค ไม่ให้เสียเปรียบผู้ผลิต ไม่ให้ตกเป็นเหยื่อของการโฆษณา ได้รับสินค้าที่ไม่ได้มาตรฐาน ไม่ปลอดภัย หรือเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค และเกิดความเป็นธรรม ระหว่างผู้ซื้อ และผู้ขายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าไทรจึงจัดทำโครงการ รู้สิทธิ บริโภคปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ขึ้น เพื่อให้ อสม.มาเป็นแกนนำในการคุ้มครองผู้บริโภค ตามสิทธิขั้นพื้นฐานที่ควรจะได้รับต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1. เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ประกอบการเอารัดเอาเปรียบผู้บริโภค จำหน่ายสินค้าตามราคาที่กำหนด
  1. ผู้ประกอบการไม่เอารัดเอาเปรียบผู้บริโภค จำหน่ายสินค้าตามราคาที่กำหนด ร้อยละ 95
2 ข้อที่ 2. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุข สามารถตรวจสอบสินค้าและบริการ เช่น ปิดป้ายแสดงราคาจำหน่าย ห้ามกักตุนได้
  1. อาสาสมัครสาธารณสุข สามารถตรวจสอบสินค้าและบริการ เช่น ปิดป้ายแสดงราคาจำหน่าย ห้ามกักตุนได้
    ร้อยละ 100
3

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมชี้แจงโครงการฯแก่เจ้าหน้าที่และผู้ที่เกี่ยวข้อง 2. จัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ
๓. ชี้แจงโครงการและแผนการดำเนินงานแก่ผู้เกี่ยวข้องรับทราบ 4. . แต่งตั้งคณะทำงาน/ประชุมคณะทำงาน ทีมวิทยากรระดับอำเภอ เพื่อกำหนดเนื้อหาการอบรมและแนวทางการ ดำเนินงาน ขั้นดำเนินการ 1. ดำเนินการอบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการ และ อสม.เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคจำนวน 2 วัน
2. ประเมินผลการอบรม และการรณรงค์กิจกรรมด้านสุขภาพ 3. สรุป วิเคราะห์ ประเมินผล และจัดทำรายงานผลการดำเนินงาน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. อาสาสมัครสาธารณสุข สามารถติดตามความเคลื่อนไหวของราคาสินค้าและบริการ สอดส่องพฤติกรรมของผู้ประกอบการที่จะมีผลกระทบต่อผู้บริโภคได้
  2. ผู้ประกอบการปฏิบัติตามกฎหมาย เช่น ปิดป้ายแสดงราคาจำหน่าย ไม่กักตุนสินค้า
  3. ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสาร ประกอบการตัดสินใจก่อนซื้อสินค้าและบริการ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 มิ.ย. 2560 10:05 น.