กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์


“ โครงการการเคลื่อนไหวทางกายเพื่อสุขภาพ ”

ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสายชล หนูทอง, นางสายใจ บุญสว่าง, นางจำเรียง บัวเเก้ว, นางพิสุทธิ์ หยดย้อย, นางพัชนี เพชรจูด และนางสาววุธีรา หนูอุไร

ชื่อโครงการ โครงการการเคลื่อนไหวทางกายเพื่อสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการเคลื่อนไหวทางกายเพื่อสุขภาพ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการเคลื่อนไหวทางกายเพื่อสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการเคลื่อนไหวทางกายเพื่อสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในด้านต่างๆที่มีความสะดวกสบาย ทำให้วิถีชีวิตของคนในปัจจุบัน เปลี่ยนแปลงไป ประชาชนออกกำลังกายน้อยลง ทำให้สุขภาพแย่ลงจากเดิม วัดได้จากสภาวะสุขภาพที่ดี พบว่าจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเพิ่มขึ้นซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ จากรายงานของกระทรวงสาธารณสุขพบว่าโรคที่เป็นปัญหาในชุมชน 5 อันดับแรกในกลุ่มโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด ผู้ป่วยที่พบส่วนใหญ่อยู่ในวัยทำงานและกลุ่มผู้สูงอายุ ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากการขาดการออกกำลังกายและบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง ก่อให้เกิดปัยหาสุขภาพของคนในชุมชน ด้วยเหตุนี้กลุ่มบาสโลบ ม.7 ตำบลท่าโพธิ์ จึงมีความประสงค์ที่จัดทำโครงการการเคลื่อนไหวทางกายเพื่อสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนได้รับการแนะนำการออกกำลังกายที่ถูกวิธีและสม่ำเสมอ ส่งเสริมสุขภาพกายและใจให้ดี มีความเป็นอยู่อย่างมีความสุขทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม อารมณ์ และสติปัญญา โดยให้ประชาชนสามารถดูแลและส้รางภูมิคุ้มกันโรคได้เป็นอย่างดี และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี ลดภาวะการเจ็บป่วยจากโรคต่างๆ
  2. เพื่อให้ประชาชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
  3. เพื่อสร้างสายสัมพันธ์ที่ดีระหว่างคนในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้การออกกำลังกาย
  2. กิจกรรมฝึกปฏิบัติออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลบ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพแข็งแรง 2.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมให้ความสนใจการออกกำลังกายมากขึ้น 3.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความสนใจและรู้จักประโยชน์ในการออกกำลังกาย 4.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น มีความสามัคคี 5.เป็นแบบอย่างการส่งเสริมสุขภาพแก่ชุมชนในพื้นที่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้การออกกำลังกาย

วันที่ 12 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้การออกกำลังกาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมการอบรมให้ความรู้การออกกำลังกาย 31 คน

 

60 0

2. กิจกรรมฝึกปฏิบัติออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลบ

วันที่ 12 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ฝึกปฏิบัติออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมการออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลบ ณ สนามกีฬาบ้านเขาวังชิง ตั้งแต่วันที่ 12/09/63 - 16/10/63

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี ลดภาวะการเจ็บป่วยจากโรคต่างๆ
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ตัวชี้วัด : ประชาชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
0.00

 

3 เพื่อสร้างสายสัมพันธ์ที่ดีระหว่างคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : เกิดสายสัมพันธ์ที่ดีระหว่างคนในชุมชน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี ลดภาวะการเจ็บป่วยจากโรคต่างๆ (2) เพื่อให้ประชาชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ (3) เพื่อสร้างสายสัมพันธ์ที่ดีระหว่างคนในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้การออกกำลังกาย (2) กิจกรรมฝึกปฏิบัติออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลบ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการการเคลื่อนไหวทางกายเพื่อสุขภาพ

ระยะเวลาโครงการ 1 สิงหาคม 2563 - 30 กันยายน 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

-เกิดองค์ความรู้ด้านการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ และการมีกิจกรรมทางกาย -เกิดองค์ความรู้ในด้านการอยู่ร่วมกันเพื่อทำกิจกรรมในชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

-มีการจัดอบรมร่วมกับการฝึกปฏิบัติ และมีการฝึกปฏิบัติอย่างต่อเนื่องเป็นเวลา 30 วัน และมุ่งหวังให้เกิดการต่อยอดกิจกรรมไปเรื่อยๆ

รายงานผลการดำเนินโครงการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

มีการปรับเปลี่ยนการทำกิจกรรมให้เหมาะกับวัยของผู้เข้าร่วมกิจกรรม

รายงานผลการดำเนินโครงการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

เป็นกลุ่มต้นแบบในการทำให้เกิดการรวมตัวกันของกลุ่มอื่นๆในด้านการออกกำลังกาย เช่น กลุ่มแอโรบิค หมู่ที่ 7 ตำบลท่าโพธิ์

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

แต่เกิดทีมแกนนำด้านการออกกำลังกายในชุมชน

รายงานการประชุมจากการประชาคมเพื่อจัดตั้งกลุ่ม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

มีการปฏิบัติตนให้มีสุขลักษระที่ดี เช่นการรับประทานอาหารปรุงสุก สะอาด ไม่มีผงชูรส การรักษาความสะอาดของร่างกายและสิ่งแวดล้อมรอบตัว

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

ให้ความสำคัญกับการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ปริมาณสารอาหาร และพลังงานอาหารที่ได้รับในแต่ละวัน ลดการบริโภคอาหารที่มีรส หวาน มัน เค็ม ที่อาจส่งผลเสียต่อสุขภาพ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

ประชาชนให้ความสำคัญในเรื่องการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ หวังผลในด้านการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง การมีกิจกรรมทางกายเพื่อลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง และการมีวินัยในการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

มีการลดการดื่มสุรา และสูบบุหรี่ เนื่องจากบั่นทอนการมีสุขภาพที่ดี และการใช้เวลาไปกับการออกกำลังกายทำให้ลดความสนใจในด้านการดื่มสุราและสูบบุหรี่ลง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

พฤติกรรมการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอทำให้มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ทำให้มีสามาธิและมีสมรรถภาพการขับขี่ดีขึ้น

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

ความเครียดลดลง สุขภาพจิตดีขึ้น จากผลของการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง ทำให้ร่างกายสดชื่น การได้พบปะกับคนอื่นๆในชุมชนทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิดและความรู้สึกในด้านต่างๆ ซึ่งเป็นการลดความเครียดที่มีไปในตัว

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

มีการนำสมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้เพื่อคลายกล้ามเนื้อที่อาจมีอาการตึงตัวจากการออกกำลังกาย หรือจากการทำงาน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

การจัดการตนเอง -หากเจ็บป่วยจะไปพบแพทย์เพื่อรับการรักษาที่ถูกวิธี ร่วมกับการดูแลสุขภาพของตนเอง เช่นทำงานหนักให้น้อยลง การออกกำลังกายให้เหมาะสมกับสุขภาพของตนเอง -มีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอในชีวิตประจำวันเพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสร้างภูมิคุ้มกันโรคให้กับร่างกาย รวมถึงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ ลดความเสี่ยงในการเกิดโรคอื่นๆตามมา การจัดการครอบครัว -เมื่อคนในครอบครัวเจ็บป่วยนอกจากการพาผู้ป่วยไปพบแพทย์จะมีการให้ความรู้ให้แก่ผู้ป่วยและคนในครอบครัวในการดูแลสุขภาพ มีการชักชวนให้คนในครอบครัวไปออกกำลังกายร่วมกัน เพื่อให้สุขภาพแข็งแรง และยังสร้างสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว จากการกิจกรรมในครอบครัวร่วมกัน -อาจมีความกังวลเมื่อคนในครอบครัวเจ็บป่วย แต่จะให้กำลังตนเองรวมถึงผู้ป่วยและคนอื่นๆในครอบครัว ให้เข้าใจสภาวะของผู้ป่วย และแนวทางการรักษาโรคที่ถูกต้อง การจัดการชุมชน -มีกลุ่มออกกำลังกายเกิดขึ้นในชุมชน ในการแลกเปลี่ยนความรู้ด้านสุขภาพและการออกกำลังกาย รวมถึงมีการบอกต่อความรู้ให้แก่คนอื่นๆในชุมชน -มีการแก้ไขปัญหาชุมชนในด้านการลดการมั่วสุมในการทำสิ่งไม่ดีมาสนใจด้านสุขภาพ เช่นการออกกำลังกายมากขึ้น มีการจัดสถานที่สำหรับการออกกำลังกายร่วมกันในชุมชนเกิดขึ้นให้เป็นที่รับรู้กันในชุมชน -มีการหันมาออกกำลังกายเพื่อให้สุขภาพกาย และสุขภาพจิตดีขึ้น ความเครียดลดลง ทำให้ลดเหตุการร์ทะเลาะเบาะแว้งของคนในชุมชน -ประชากรวัยทำงานมีการใช้เวลาหลังจากการทำงานมาออกกำลังกายเพื่อสุขภาพมากขึ้น -มีการชักชวนให้มาร่วมกิจกรรมการออกกำลังกายและส่งต่อข้อมูลผ่านช่องทาง Line FB หอกระจายข่าวหมู่บ้าน เวทีการประชุมหมู่บ้าน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

-จากการเกิดการให้ความสำคัญด้านสุขภาพ ทำให้การจัดการสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะการทำให้ชุมชนปลอดขยะดีขึ้น รวมถึงการรักษาความสะอาดของสถานที่สาธารระที่ใช้ในการออกกำลังกายของกลุ่ม สะอาด ปลอดขยะและสิ่งปฏิกูล เกิดพฤติกรรมการทิ้งขยะให้ลงถัง -เกิดความตระหนักในด้านการนำสารเคมีไปใช้ในการทำการเกษตร เนื่องจากอาจทำให้เกิดสารเคมีตกค้าง ทั้งในดินและในผลผลิตที่ได้ ที่อาจส่งผลเสียต่อสุขภาพทั้งในระยะสั้นและระยะยาว -มีการรักษาความสะอาดในครัวเรือนเพื่อให้ถูกสุขลักษระ เพื่อป้องกันโรค ทำให้บ้านเรือนน่าอยู่ คนในครอบครัวมีสุขภาพกายและจิตที่ดีจากการมีสิ่งแวดล้อมในบ้านที่ดี

ภาพถ่ายสถานที่ออกกำลังกายในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

-การมีสุขภาพกายและจิตที่ดีทำให้ลดพฤติกรรมที่สร้างความเสียหายให้แก่ผู้อื่น ส่งผลให้ชุมชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน -จากการมีสุขภาพกายและจิตที่ดี ทำให้สมรรถภาพในการขับขี่ดีขึ้น อุบัติเหตุในท้องถนนลดลง -มีการใช้สถานที่สาธารณะเพื่อส่งเสริมสุขภาพ เช่น สถานที่สำหรับการออกกำลังกายร่วมกันของกลุ่มเด็ก เยาวชน กลุ่มวัยทำงาน รวมถึงกลุ่มผู้สูงอายุติดสังคม

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

มีกติกาของกลุ่มด้านการกำหนดเวลาในการดำเนินกิจกรรมการออกกำลังกายในชุมชนแต่ละวัน

รายงานการประชุมของกลุ่ม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

การสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนตำบลให้แก่กลุ่มองค์กรต่างๆสำหรับดำเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพให้แก่คนในชุมชน

รายละเอียดการสนับสนุนงบประมาณของกองทุนฯ

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

-มีการขอความร่วมมือและชักชวนกลุ่มต่างๆในชุมชนให้มาเข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกาย -มีการประชาสัมพันะ์ และชักชวนชุมชนใกล้เคียงให้มาเข้าร่วมกิจกรรม

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

-ไม่ได้มีการนำฐานข้อมูลมาวิเคราะห์ปัญหา มีเพียงการระดมความคิดเห็นในชุมชนว่าเหมาะสมที่จะดำเนินโครงการด้านสุขภาพในประเด็นใด -มีการวางแผนการทำงานในการร่วมกันขับเคลื่อนให้ชุมชนเกิดการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพร่วมกัน -มีการดำเนินการตามแผนที่วางไว้อย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง -มีการติดตามและเเจ้งให้มีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องตามกำหนดเวลาที่วางไว้ -มีการสอบถามความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม และสังเกตจากจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมในแต่ละครั้ง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

มีการใช้งบประมาณจากการสมทบของคณะผู้รับผิดชอบโครงการและคนในชุมชน มาดำเนินการขับเคลื่อนกิจกรรมในบางส่วน เพื่ออำนวยความสะดวกและสร้างแรงจูงใจให้คนในชุมชนมาเข้าร่วมกิจกรรม -มีการใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชนเป็นแกนนำในการขับเคลื่อนโครงการและเป็นตัวอย่างด้านการออกกำลังกายให้แก่คนในชุมชน เช่น เป็นผู้นำการออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลบ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

มีการดำเนินการด้านการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าโครงการจะจบไปแล้ว รวมถึงมีการของบประมาณจากกองทุนฯในปีถัดไปเพื่อต่อยอดโครงการ

รายละเอียดโครงการที่ของบประมาณในปีงบประมาณ 2564

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

มีการส่งต่อความรู้ที่ได้จากการอบรม และผลจากการปฏิบัติ (การออกกำลังกาย)อย่างต่อเนื่อง ถ่ายทอดให้แก่ผู้อื่นในชุมชนที่ยังไม่ได้เข้าร่วมกิจกรรม

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

มีการใช้ความรู้ด้านการออกกำลังกาย เช่นความถี่ และระยะเวลาสำหรับการออกกำลังกายในแต่ละครั้ง มาวางแผนการดำเนินโครงการ

แบบเสนอโครงการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

-ภูมิใจในตนเองที่สามารถสร้างวินัยในการออกกำลังกายให้ตนเองมีสุขภาพดี และภูมิใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งที่มีบทบาทในการขับเคลื่อนให้เกิดการออกกำลังกายเกิดขึ้นในชุมชน ได้ส่งต่อความรู้ด้านสุขภาพ และชักชวนผู้อื่นให้หันมารักษาสุขภาพมากขึ้น รวมถึงเป็นตัวอย่างที่ดีให้คนอื่นๆหันมารักษาสุขภาพ -ภูมิใจในกลุ่มองค์กรที่สามารถทำให้คนในชุมชนมีสุขภาพดีขึ้นจากการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง มีการทำกิจกรรมร่วมกันเพื่อสร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันให้เกิดขึ้นในชุมชน รวมถึงเป็นกลุ่มต้นแบบให้แก่กลุ่มอื่นๆในชุมชนในด้านการสร้างเสริมสุขภาพในกับคนในชุมชน -ภูมิใจที่คนในชุมชนให้ความสนใจ และมาเข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ มีการดูแลสุขภาพของตนเองให้แข็งแรงเพื่อป้องกันการเกิดโรคต่างๆ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

ประชาชนใช้เวลาส่วนตนบางส่วน เพื่อมาขับเคลื่อนการดำเนินกิจกรรมโครงการ ทั้งในส่วนของผู้รับผิดชอบโครงการและผู้เข้าร่วมโครงการ เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพดีด้วยการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

มีการให้ความสำคัญกับการออกกำลังกายเพื่อการมีสุขภาพที่ดี เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรค ซึ่งเป็นเรื่องง่ายๆที่สามารถทำได้เองโดยไม่ต้องมีค่าใช้จ่าย ส่งผลให้เกิดการดำเนินชีวิตในการดูแลสุขภาพแบบเรียบง่าย ลดภาระค่าใช้จ่ายที่ต้องใช้ไปกับการดูแลสุขภาพเมื่อเป็นโรค

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

ชุมชนมีการช่วยเหลือซึ่งกันและกันในด้านการดูแลสุขภาพ เพื่อให้คนในชุมชนมีสุขภาพดี มีการชักนำให้ผู้ที่ไม่เคยออกกำลังกายเลย หันมาออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

มีการใช้ความรู้ที่ได้รับจากการอบรมด้านการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ไปปรับใช้สู่การปฏิบัติจริงในชีวิตประจำวันอย่างต่อเนื่อง

ภาพกิจกรรมการออกกำลังกาย หลังจากจบโครงการไปแล้ว

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการการเคลื่อนไหวทางกายเพื่อสุขภาพ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสายชล หนูทอง, นางสายใจ บุญสว่าง, นางจำเรียง บัวเเก้ว, นางพิสุทธิ์ หยดย้อย, นางพัชนี เพชรจูด และนางสาววุธีรา หนูอุไร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด