กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจากการทำงานของผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยงกลุ่มอาชีพทำสวนยาง
รหัสโครงการ 63 - L3356 - 2 - 14
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครอาชีวอนามัยตำบลนาท่อม
วันที่อนุมัติ 18 สิงหาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 21 สิงหาคม 2563 -
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 28,419.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางญาณาธิป เดชดี
พี่เลี้ยงโครงการ นางกชกานต์ คงชู
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.585,100.002place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง , แผนงานแรงงานนอกระบบ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 35 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 416 28,419.00 6 28,419.00
30 มิ.ย. 63 - 30 ก.ย. 63 วิเคราะห์ และเรียนรู้ข้อมูลความเสี่ยงร่วมกัน 50 5,300.00 5,300.00
21 ส.ค. 63 - 30 ก.ย. 63 เก็บรวบรวมข้อมูลความเสี่ยงจากการทำสวนยาง 196 10,819.00 10,819.00
21 ส.ค. 63 - 30 ก.ย. 63 คัดเลือก/รับสมัครแกนนำเกษตรกรทำสวนยาง 35 0.00 0.00
21 ส.ค. 63 - 30 ก.ย. 63 สนับสนุนการแก้ไขปัจจัยเสี่ยง ตามแผนปฏิบัติการ 35 3,500.00 3,500.00
21 ส.ค. 63 - 30 ก.ย. 63 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ( อสอช.+แกนนำคนทำสวนยาง) 50 3,500.00 3,500.00
21 ส.ค. 63 - 30 ก.ย. 63 สรุป ประเมินผล ถอดบทเรียน 50 5,300.00 5,300.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. มีกลไกขับเคลื่อนงานอาชีวอนามัยระดับพื้นที่
  2. มีข้อมูลปัจจัยเสี่ยงของกลุ่มอาชีพทำสวนยาง
  3. ปัจจัยเสี่ยงได้รับการแก้ไข
  4. เกิดองค์ความรู้การจัดการความเสี่ยงของอาชีพทำสวนยาง
  5. ระดับความเสี่ยงลดลง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 ส.ค. 2563 17:04 น.