กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยอะห์มาดียะห์ ฟันดี ชีวีสดใส ด้วยมือของเรา ปี2564
รหัสโครงการ 64-L6961-3-07
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดอะห์มาดียะห์
วันที่อนุมัติ 27 เมษายน 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2564
งบประมาณ 21,994.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวโนรา แวสมะแอแว
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 103 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กนักเรียนที่มีปัญหาฟันน้ำนมผุ
67.00
2 ร้อยละของผู้ปกครองขาดความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพในช่องปาก
60.12
3 ร้อยละของเด็กนักเรียนที่แปรงฟันผิดวิธี
93.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สุขภาพช่องปากมีความสัมพันธ์กับสุขภาพร่างกาย การดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีจึงมีผลต่อการมีสุขภาพที่ดีด้วย จากการสำรวจพฤติกรรมและสภาวะสุขภาพช่องปากของเด็กนักเรียน พบว่าเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดอะห์มาดียะห์มีอัตราการเกิดฟันนำ้นมผุร้อยละ 67 โดยปัจจัยหลักในการเกิดฟันนำ้นมผุ คือ เด็กในยุคนี้เป็นเด็กที่ติดกับการบริโภคนิยม ทั้งทางด้านวัตถุ สิ่งของ อาหารเด็กส่วนมากมักบริโภคอาหารที่ไม่มีประโยชน์ เช่นขนมขบเคี้ยว ทอฟฟี่ ช็อคโกแลต ขนมหวานต่างๆ การที่เด็กทานอาหารเหล่านี้เข้าไป จะทำให้เด็กมีปัญหาเรื่องฟันผุ ซึ่งปัญหานี้มักเกิดขึ้นกับเด็กปฐมวัยเป็นส่วนมากและเกิดจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูของผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูซึ่งยังขาดความรู้ความเข้าใจและทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กนักเรียนร้อยละ 60.12 ส่งผลให้เกิดปัญหาการเกิดโรคฟันนำ้นมผุในเด็กเล็ก เกิดการเจ็บปวด สภาวะเหงือกอักเสบ การบดเคี้ยวอาหาร ยังมีผลต่อนำ้หนัก การเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็ก ร้อยละของเด็กนักเรียนแปรงฟันไม่ถูกวิธี 93 ส่งผลให้การแปรงฟันไม่สะอาดได้อย่างทั่วถึง ก่อให้เกิดฟันนำ้นมผุและเกิดผลเสียต่อเหงือกและฟัน ดังนั้นแนวทางที่เหมาะสมสำหรับเด็กกลุ่มนี้ ควรเน้นไปที่การป้องกันการเกิดฟันนำนมผุตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้น เพราะหากได้รับการดูแลอย่างถูกวิธี ช่วยให้สามารถรักษาฟันนำ้นมให้มีสุขภาพดีและใช้งานได้อย่างประสิทธิภาพ ผู้ปกครองจึงเป็นบุคคลสำคัญที่มีบทบาทในการดูแลเอาใจใส สร้างพฤติกรรมที่ถูกต้องให้แก่เด็ก จึงเหมาะแก่การปลูกฝังและส่งเสริมด้านการดูแลทันตสุขภาพให้มากที่สุดจากความสำคัญดังกล่าว ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดอะห์มาดียะห์ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมและป้องกันฟันนำ้นมผุของเด็กนักเรียน

เด็กนักเรียนมีฟันน้ำนมผุที่ลดลง

67.00 50.00
2 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กนักเรียน

ผู้ปกครองขาดความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กนักเรียนมีจำนวนลดลง

60.12 30.00
3 เพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียนแปรงฟันอย่างถูกวิธี

เด็กนักเรียนแปรงฟันผิดวิธีลดลง

93.00 50.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 21,994.00 0 0.00
1 ก.ค. 64 กิจกรรมอบรมให้ความรู้กับผู้ปกครอง สาธิตการแปรงฟัน และสนทนากลุ่ม (Focus Group) 0 21,994.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ส่งเสริมและป้องกันฟันนำ้นมผุของเด็กนักเรียนได้
  2. ผู้ปกครองมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กนักเรียนได้
  3. เด็กนักเรียนแปรงฟันถูกวิธี
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 29 ก.ย. 2563 00:00 น.