กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
ประเมินผลโครการ / ถอดบทเรียนโครงการโครงการ กองทุน ทต.หนองพ้อ โดย นางกาญจนา ผอมดำ26 สิงหาคม 2564
26
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ธมล มงคลศิลป์ Coach
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

นัดหมายประธานกองทุน เลขานุการกองทุน และเจ้าหน้าที่กองทุน เพื่อเข้าไปแนะนำการประเมินโครงการ การถอดบทเรียนโครงการในโปรแกรม ตลอดจนขอความร่วมมือเร่งรัดให้มีการเบิกจ่ายงบประมาณเพื่อใช้ในการดูแลประชาชนและแนะนำการใช้งบประมาณในการดำเนินการเกี่ยวกับการป้องกัน ควบคุมและการรักษาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต
มีผู้เข้ารับการแนะนำ จำนวน 6 คนประกอบด้วย ประธานกองทุน เลขานุการกองทุน เจ้าหน้าที่กองทุน และอนุกรรมการกองทุน

ผลลัพท์
1.ผู้เกี่ยวข้องกับกองทุนฯในตำแหน่งต่าง ๆ มีความรู้ มีความเข้าใจในการประเมินโครงการและถอดบทเรียนโครงการในโปรแกรมได้
2.ผู้เกี่ยวข้องกับกองทุนฯในตำแหน่งต่าง ๆมีความเข้าใจในการใช้งบประมาณในการดำเนินการเกี่ยวกับการป้องกัน ควบคุมและการรักษาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
3.กองทุน ฯ สามารถใช้งบประมาณในการดูแลประชาชนได้มากขึ้น
4.การแลกเปลี่ยนการดำเนินงานกับเลขากองทุน พบว่าผู้บริหาร และกรรมการได้เข้าใจบทบาทของกองทุนมากขึ้น ทำให้การขับเคลื่อนงานกองทุนดำเนินการอย่างต่อเนื่อง และที่สำคัญประชาชนได้รับประโยชน์จากเงินกองทุนได้ตรงเป้าหมายมากยิ่งขึ้น

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุน ทต.แพรกหา โดย นางมธุภานี เจ้ยชุม25 สิงหาคม 2564
25
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ธมล มงคลศิลป์ Coach
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

นัดหมายประธานกองทุน เลขานุการกองทุน และเจ้าหน้าที่กองทุน เพื่อเข้าไปแนะนำการประเมินโครงการ การถอดบทเรียนโครงการในโปรแกรม ตลอดจนขอความร่วมมือเร่งรัดให้มีการเบิกจ่ายงบประมาณเพื่อใช้ในการดูแลประชาชนและแนะนำการใช้งบประมาณในการดำเนินการเกี่ยวกับการป้องกัน ควบคุมและการรักษาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต
มีผู้เข้ารับการแนะนำ จำนวน 6 คนประกอบด้วย ประธานกองทุน เลขานุการกองทุน เจ้าหน้าที่กองทุน และอนุกรรมการกองทุน

ผลลัพท์
1.ผู้เกี่ยวข้องกับกองทุนฯในตำแหน่งต่าง ๆ มีความรู้ มีความเข้าใจในการประเมินโครงการและถอดบทเรียนโครงการในโปรแกรมได้
2.ผู้เกี่ยวข้องกับกองทุนฯในตำแหน่งต่าง ๆมีความเข้าใจในการใช้งบประมาณในการดำเนินการเกี่ยวกับการป้องกัน ควบคุมและการรักษาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
3.กองทุน ฯ สามารถใช้งบประมาณในการดูแลประชาชนได้มากขึ้น
4.การแลกเปลี่ยนการดำเนินงานกับเลขากองทุน พบว่าผู้บริหาร และกรรมการได้เข้าใจบทบาทของกองทุนมากขึ้น ทำให้การขับเคลื่อนงานกองทุนดำเนินการอย่างต่อเนื่อง และที่สำคัญประชาชนได้รับประโยชน์จากเงินกองทุนได้ตรงเป้าหมายมากยิ่งขึ้น

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุน ทต.ทะเลน้อยโดย นางสาวปรียาภรณ์ คงผอม25 สิงหาคม 2564
25
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ธมล มงคลศิลป์ Coach
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

นัดหมายประธานกองทุน เลขานุการกองทุน และเจ้าหน้าที่กองทุน เพื่อเข้าไปแนะนำการประเมินโครงการ การถอดบทเรียนโครงการในโปรแกรม ตลอดจนขอความร่วมมือเร่งรัดให้มีการเบิกจ่ายงบประมาณเพื่อใช้ในการดูแลประชาชนและแนะนำการใช้งบประมาณในการดำเนินการเกี่ยวกับการป้องกัน ควบคุมและการรักษาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต
มีผู้เข้ารับการแนะนำ จำนวน 6 คนประกอบด้วย ประธานกองทุน เลขานุการกองทุน เจ้าหน้าที่กองทุน และอนุกรรมการกองทุน

ผลลัพท์
1.ผู้เกี่ยวข้องกับกองทุนฯในตำแหน่งต่าง ๆ มีความรู้ มีความเข้าใจในการประเมินโครงการและถอดบทเรียนโครงการในโปรแกรมได้
2.ผู้เกี่ยวข้องกับกองทุนฯในตำแหน่งต่าง ๆมีความเข้าใจในการใช้งบประมาณในการดำเนินการเกี่ยวกับการป้องกัน ควบคุมและการรักษาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
3.กองทุน ฯ สามารถใช้งบประมาณในการดูแลประชาชนได้มากขึ้น
4.การแลกเปลี่ยนการดำเนินงานกับเลขากองทุน พบว่าผู้บริหาร และกรรมการได้เข้าใจบทบาทของกองทุนมากขึ้น ทำให้การขับเคลื่อนงานกองทุนดำเนินการอย่างต่อเนื่อง และที่สำคัญประชาชนได้รับประโยชน์จากเงินกองทุนได้ตรงเป้าหมายมากยิ่งขึ้น

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุน ทต.บ้านสวน โดย นางอมรรัตน์ ทุ่มพุ่ม25 สิงหาคม 2564
25
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย t9332
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ประสานเจ้าหน้าที่กองทุน เพื่อนัดหมายเข้าไปแนะนำการประเมินโครงการ การถอดบทเรียนโครงการในโปรแกรม เวลา 09.00-12.00 น. ณ ห้องประชุม อบต.บ้านสวน 2.ชี้แจงวัตถุประสงค์ที่จัดประชุมวันนี้ โดยพี่เลี้ยงนางอมรรัตน์  ทุ่มพุ่ม 3.ดำเนินการติดตามและถอดบทเรียน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-มีผู้เข้าประชุมประเมินผล/ถอดบทเรียน จำนวน 10 คน
-จากการติดตามประเมินผลโครงการและถอดบทเรียนโครงการ พบว่า
1.กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านสวน ได้จัดทำแผนสุขภาพชุมชนตามปัญหาสำคัญ คือ แผนอาหารและโภชนาการ แผนปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ เช่น เหล้า บุหรี่ สารเสพติด แผนกิจกรรมทางกาย แผนสุขภาพอื่นที่สอดคล้องกับพื้นที่ ให้มีข้อมูลสถานการณ์ปัญหาสุขภาพของพื้นที่ การตั้งเป้าหมาย การตั้งวงเงินงบประมาณ และการมีโครงการที่ควรดำเนินการระบุในแผนสุขภาพผ่านโปรแกรมระบบบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบลแบบออนไลน์ www.localfund.happynetwork.org
2.มีการพัฒนาโครงการด้านสุขภาพที่จะขอรับการสนับสนุนเงินจากกองทุนสุขภาพตำบลผ่านโปรแกรมระบบบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบลแบบออนไลน์ www.localfund.happynetwork.org โดยหน่วยงานรับทุน โดยเฉพาะหน่วยงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
และโรงเรียนบ้านดอนศาลา โดยเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนได้แนะนำให้ผู้รับทุนเขียนในเวปไชด์ และยังมีหน่วยรับทุนอื่นที่ยังไม่ได้เขียนโครงการผ่านเวปไชด์เอง ส่งเป็นแบบฟอร์มมา ให้เจ้าหน้าที่เป็นคนคีย์ ซึ่งทางเจ้าหน้าที่กองทุน พยายามแนะนำให้เขียนโครงการผ่านเวปไชด์ ในปี 2564 โครงการที่เขียนได้สมบูรณ์ และมีการพัฒนาโครงการที่ดีได้ ซึ่งจะมีการพัฒนากันต่อไป
มีการใช้เงินไปทั้งหมด 830,673.00 บาท คิดเป็น 85.65% 3.เกิดโครงการด้านสุขภาพที่บันทึกสมบูรณ์แล้ว ในเวปไซต์ www.localfund.happynetwork.org
4.การดำเนินงานกองทุนดูแลระยะยาวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง(LTC) สามารถจัดบริการแก่กลุ่มเป้าหมายได้ โดยดำเนินการผ่านหน่วยงาน รพ.สต. 5.ประธานกองทุนให้ความสำคัญมากในการขับเคลื่อนงบประมาณกองทุน และเลขานุการกองทุนให้ความสำคัญมากทำให่การขับเคลื่อนงบประมาณปีนี้เป็นไปในทางที่ดีขึ้นมาก

ประเมินผลโครงการ / ถอดบทเรียนโครงการ กองทุน ทต.หานโพธิ์ โดย นายประเทือง อมรวิริยะชัย25 สิงหาคม 2564
25
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย เทือง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ประสานเจ้าหน้าที่กองทุน เพื่อนัดหมายเข้าไปแนะนำการประเมินโครงการ การถอดบทเรียนโครงการในโปรแกรม เวลา 09.00-12.00 น. ณ ห้องประชุม อบต.หานโพธิ์
2.ชี้แจงวัตถุประสงค์ที่จัดประชุมวันนี้ โดยพี่เลี้ยงนายประเทือง อมรวิริยะชัย
3.ดำเนินการติดตามและถอดบทเรียน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-มีผู้เข้าประชุมประเมินผล/ถอดบทเรียน จำนวน 5 คน
-จากการติดตามประเมินผลโครงการและถอดบทเรียนโครงการ พบว่า
1.กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลหานโพธิ์ ได้จัดทำแผนสุขภาพชุมชนตามปัญหาสำคัญ คือ แผนอาหารและโภชนาการ แผนปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ เช่น เหล้า บุหรี่ สารเสพติด แผนกิจกรรมทางกาย แผนสุขภาพอื่นที่สอดคล้องกับพื้นที่ ให้มีข้อมูลสถานการณ์ปัญหาสุขภาพของพื้นที่ การตั้งเป้าหมาย การตั้งวงเงินงบประมาณ และการมีโครงการที่ควรดำเนินการระบุในแผนสุขภาพผ่านโปรแกรมระบบบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบลแบบออนไลน์ www.localfund.happynetwork.org
2.มีการพัฒนาโครงการด้านสุขภาพที่จะขอรับการสนับสนุนเงินจากกองทุนสุขภาพตำบลผ่านโปรแกรมระบบบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบลแบบออนไลน์ www.localfund.happynetwork.org โดยหน่วยงานรับทุนเป็นผู้เขียนโครงการ จำนวน 1 โครงการคือ โครงการใช้ยาอย่างปลอดภัยในชุมชน ส่วนโครงการอื่น ได้พัฒนาโครงการผ่านเอกสาร จำนวน 37 โครงการ รวมทั้งหมด 38 โครงการ ใช้เงิน 1,122,550.00 บาท
3.เกิดโครงการด้านสุขภาพที่บันทึกสมบูรณ์แล้ว ในเวปไซต์ www.localfund.happynetwork.org
4.การดำเนินงานกองทุนดูแลระยะยาวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง(LTC) สามารถจัดบริการแก่กลุ่มเป้าหมายได้ โดยดำเนินการผ่านหน่วยงาน รพ.สต.

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุน ทต.หารเทา โดย นายเสงี่ยม ศรีทวี24 สิงหาคม 2564
24
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย นายเสงี่ยม ศรีทวี
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ได้ลงพื้นที่ถอดบทเรียนโครงการ กองทุนเทศบาลตำบลหารเทา  กับประธานกองทุน เลขากองทุน และเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบงานกองทุน  โดย ที่ใช้วิธีการสัมภาษณ์  และดูในระบบโปรแกรม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการถอดบทเรียนโครงการ พบว่า กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลหารเทา ได้นำตัวประกาศของกองทุน วัตถุประสงค์ของกองทุน นำไปดำเนินโครงการโดยการชี้แจงและทำความเข้าใจกับหน่วยงาน กลุ่ม องค์กร ที่ขอรับทุน เพื่อความถูกต้องในการเขียนโครงการขอรับสนับสนุนงบประมาณ และสามารถนำไปแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ได้อย่างตรงตามเป้าหมาย และแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง ตามวัตถุประสงค์ของกองทุน ซึ่งจะเห็นได้จากการดำเนินนงานของกองทุนเทศบาลตำบลหารเทา พบว่า งบประมาณที่มีการเบิกจ่ายออกไป เบิกจ่ายไปประมาณ ร้อยละ 70 และโครงการต่าง ที่ได้ดำเนินการ ตอบโจทย์การแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพของพี่น้องประชาชนในพื้นที่ได้อย่างค่อนข้างที่จะชัด และเป็นไปตามแผนงาน/โครงการ ประเด็นตัวชี้วัดของ สปสช. เขต 12 ที่สำคัญได้นำงบกองทุนไปใช้ในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์โควิด 19 ให้กับประชาชน ในเขตเทศบาลตำบลหารเทา แต่เนื่องจากคณะกรรมการชุดใหม่ที่เพิ่งแต่งตั้ง ทำให้การดำเนินงานของกองทุน หยุดชะงัก บางโครงการยังไม่ได้รับการอนุมัติ ส่งผลให้การเบิกจ่าย ยังต่ำกว่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ อนึ่งจากการประเมินการจัดการกองทุนดูแลผู้สูงอายุและผุ้ที่มีภาวะพึ่งพิง ติดบ้านติดเตียง ในรอบปีปัจจุบัน พบว่า การเบิกจ่ายยังไม่เป็นปัจจุบัน การจัดหารวัสดุ อุปกรณ์ ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย ยังไม่ได้ดำเนินการ จากการสอบถามเจ้าหน้าแจ้ง ว่า ยังไม่ได้การโอนเงิน รอบเดือน กรกฏาคม 2564 ทำให้ไม่สามารถจัดการ ดังกล่าวได้

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุน ทต.ปรางหมู่ โดย นางสาวธมล มงคงศิลป์23 สิงหาคม 2564
23
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ธมล มงคลศิลป์ Coach
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

นัดหมายประธานกองทุน เลขานุการกองทุน และเจ้าหน้าที่กองทุน เพื่อเข้าไปแนะนำการประเมินโครงการ การถอดบทเรียนโครงการในโปรแกรม ตลอดจนขอความร่วมมือเร่งรัดให้มีการเบิกจ่ายงบประมาณเพื่อใช้ในการดูแลประชาชนและแนะนำการใช้งบประมาณในการดำเนินการเกี่ยวกับการป้องกัน ควบคุมและการรักษาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต
มีผู้เข้ารับการแนะนำ จำนวน 6 คนประกอบด้วย ประธานกองทุน เลขานุการกองทุน เจ้าหน้าที่กองทุน และอนุกรรมการกองทุน

ผลลัพท์
1.ผู้เกี่ยวข้องกับกองทุนฯในตำแหน่งต่าง ๆ มีความรู้ มีความเข้าใจในการประเมินโครงการและถอดบทเรียนโครงการในโปรแกรมได้
2.ผู้เกี่ยวข้องกับกองทุนฯในตำแหน่งต่าง ๆมีความเข้าใจในการใช้งบประมาณในการดำเนินการเกี่ยวกับการป้องกัน ควบคุมและการรักษาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
3.กองทุน ฯ สามารถใช้งบประมาณในการดูแลประชาชนได้มากขึ้น
4.การแลกเปลี่ยนการดำเนินงานกับเลขากองทุน พบว่าผู้บริหาร และกรรมการได้เข้าใจบทบาทของกองทุนมากขึ้น ทำให้การขับเคลื่อนงานกองทุนดำเนินการอย่างต่อเนื่อง และที่สำคัญประชาชนได้รับประโยชน์จากเงินกองทุนได้ตรงเป้าหมายมากยิ่งขึ้น

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุน ทต.เขาเจียก โดย นางกชกานต์ คงชุ23 สิงหาคม 2564
23
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ธมล มงคลศิลป์ Coach
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

นัดหมายประธานกองทุน เลขานุการกองทุน และเจ้าหน้าที่กองทุน เพื่อเข้าไปแนะนำการประเมินโครงการ การถอดบทเรียนโครงการในโปรแกรม ตลอดจนขอความร่วมมือเร่งรัดให้มีการเบิกจ่ายงบประมาณเพื่อใช้ในการดูแลประชาชนและแนะนำการใช้งบประมาณในการดำเนินการเกี่ยวกับการป้องกัน ควบคุมและการรักษาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต
มีผู้เข้ารับการแนะนำ จำนวน 6 คนประกอบด้วย ประธานกองทุน เลขานุการกองทุน เจ้าหน้าที่กองทุน และอนุกรรมการกองทุน

ผลลัพท์
1.ผู้เกี่ยวข้องกับกองทุนฯในตำแหน่งต่าง ๆ มีความรู้ มีความเข้าใจในการประเมินโครงการและถอดบทเรียนโครงการในโปรแกรมได้
2.ผู้เกี่ยวข้องกับกองทุนฯในตำแหน่งต่าง ๆมีความเข้าใจในการใช้งบประมาณในการดำเนินการเกี่ยวกับการป้องกัน ควบคุมและการรักษาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
3.กองทุน ฯ สามารถใช้งบประมาณในการดูแลประชาชนได้มากขึ้น 4.การแลกเปลี่ยนการดำเนินงานกับเลขากองทุน พบว่าผู้บริหาร และกรรมการได้เข้าใจบทบาทของกองทุนมากขึ้น ทำให้การขับเคลื่อนงานกองทุนดำเนินการอย่างต่อเนื่อง และที่สำคัญประชาชนได้รับประโยชน์จากเงินกองทุนได้ตรงเป้าหมายมากยิ่งขึ้น

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุน ทต.นาโหนด โดย นางกชกานต์ คงชู23 สิงหาคม 2564
23
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ธมล มงคลศิลป์ Coach
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

นัดหมายประธานกองทุน เลขานุการกองทุน และเจ้าหน้าที่กองทุน เพื่อเข้าไปแนะนำการประเมินโครงการ การถอดบทเรียนโครงการในโปรแกรม ตลอดจนขอความร่วมมือเร่งรัดให้มีการเบิกจ่ายงบประมาณเพื่อใช้ในการดูแลประชาชนและแนะนำการใช้งบประมาณในการดำเนินการเกี่ยวกับการป้องกัน ควบคุมและการรักษาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต
มีผู้เข้ารับการแนะนำ จำนวน 6 คนประกอบด้วย ประธานกองทุน เลขานุการกองทุน เจ้าหน้าที่กองทุน และอนุกรรมการกองทุน

ผลลัพท์
1.ผู้เกี่ยวข้องกับกองทุนฯในตำแหน่งต่าง ๆ มีความรู้ มีความเข้าใจในการประเมินโครงการและถอดบทเรียนโครงการในโปรแกรมได้
2.ผู้เกี่ยวข้องกับกองทุนฯในตำแหน่งต่าง ๆมีความเข้าใจในการใช้งบประมาณในการดำเนินการเกี่ยวกับการป้องกัน ควบคุมและการรักษาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
3.กองทุน ฯ สามารถใช้งบประมาณในการดูแลประชาชนได้มากขึ้น
4.การแลกเปลี่ยนการดำเนินงานกับเลขากองทุน พบว่าผู้บริหาร และกรรมการได้เข้าใจบทบาทของกองทุนมากขึ้น ทำให้การขับเคลื่อนงานกองทุนดำเนินการอย่างต่อเนื่อง และที่สำคัญประชาชนได้รับประโยชน์จากเงินกองทุนได้ตรงเป้าหมายมากยิ่งขึ้น

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุน ทต.บางแก้ว โดย พ.จ.อ.หญิงอมรรัตน์ ทวีตา23 สิงหาคม 2564
23
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย อมรรัตน์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ลงประเมินโครงการและถอกบทเรียนกองทุน ทต.บางแก้ว ซึ่งใช้การแลกเปลี่ยน การสัมภาษณ์ประธานกองทุน เลขากองทุน และกรรมการกองทุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการสัมภาษณ์ประธานกองทุน และผู้เกี่ยวข้อง ร่วมแลกเปลี่ยน พบว่า กองทุน ทต.บางแก้วมีการเบิกจ่ายเงินในปีนี้ออกได้ค่อนข้างเยอะมาก ซึ่งในปีก่อนๆ เงินของกองทุนเหลือมาก แต่หลังจากได้มีการนิเทศ ติดตามการดำเนินงาน ของกองทุนทำให้เงินออกได้มาก ที่สำคัญได้นำเงินกองทุนฯมาใช้แก้ไขปัญหาในพื้นที่ได้ หลายโครงการ และได้มีการแลกเปลี่ยนการดำเนินงานกับเลขากองทุน พบว่าผู้บริหาร และกรรมการได้เข้าใจบทบาทของกองทุนมากขึ้น ทำให้การขับเคลื่อนงานกองทุนดำเนินการอย่างต่อเนื่อง และที่สำคัญประชาชนได้รับประโยชน์จากเงินกองทุนได้ตรงเป้าหมายมากยิ่งขึ้น

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ อบต.ทุ่งนารี โดย นายนราวุฒิ แก้วหนูนวล23 สิงหาคม 2564
23
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย นราวุฒิ แก้วหนูนวล
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ได้ลงพื้นที่ถอดบทเรียนโครงการ กองทุนอบต.ทุ่งนารีกับประธานกองทุน เลขากองทุน และเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบงานกองทุน โดยที่ใช้วิธีการสัมภาษณ์และดูในระบบโปรแกรม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการถอดบทเรียนโครงการ พบว่ากองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ทุ่งนารี ได้นำตัวประกาศของกองทุน วัตถุประสงค์ของกองทุน นำไปดำเนินโครงการโดยการชี้แจงและทำความเข้าใจกับหน่วยขอรับทุน เพื่อความถูกตองในการเขียนโครงการขอรับสนับสนุนงบประมาณ  และสามารถนำไปแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ได้อย่างตรงตามเป้าหมาย และแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง  ซึ่งจะเห็นได้จากการดำเนินนงานของกองทุน พบว่า งบประมาณที่มีการเบิกจ่ายออกไป  และโครงการต่าง ที่ได้ดำเนินการ ตอบโจทย์การแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพของพี่น้องประชาชนในพื้นที่ได้อย่างค่อนข้างที่จะชัด ที่สำคัญได้นำงบกองทุนไปใช้ในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์โควิด 19  ให้กับพี่น้องในเขตเทศบาลตำบลตะโหมด ได้รับผลประโยชน์ อย่างสูงสุด

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุน อบต.นาปะขอ โดย นายณัฐพงศ์ คงสง21 สิงหาคม 2564
21
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐพงศ์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ได้ลงพื้นที่ถอดบทเรียนโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.นาปะขอ  กับประธานกองทุน  เลขากองทุน และเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบงานกองทุน โดยที่ใช้วิธีการสัมภาษณ์ และดูในระบบโปรแกรม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการถอดบทเรียนโครงการ พบว่ากองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.นาปะขอ ได้นำตัวประกาศของกองทุน วัตถุประสงค์ของกองทุน นำไปดำเนินโครงการโดยการชี้แจงและทำความเข้าใจกับหน่วยขอรับทุน เพื่อความถูกต้องในการเขียนโครงการขอรับสนับสนุนงบประมาณ แต่ก็พบว่ายังต่ำกว่าเกณฑ์อยู่มากพอสมควร จากการทางกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.นาปะขอได้มีการเบิกจ่ายอยู่ที่ 37.63 % เท่าน้ัน และจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน พบปัญหา คือผู้ดูแลงานด้านกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.นาปะขอไม่ใช้ผู้ที่ดูแลงานเฉพาะด้านกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.นาปะขอโดยตรง จึงเป็นปัญหาในการปฏิบัติหน้าที่ ของผู้ที่ได้รับมอบหมาย ร่วมทั้งสถานการณ์ปัญหาการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ก็เป็นส่วนหนึ่งที่ส่งผลต่อการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.นาปะขอด้วย ได้เสนอแนะให้ผู้รับผิดชอบรีบดำเนินการ การเบิกจ่ายงบประมาณในช่วงเวลาที่เหลืออยู่ เพื่อเป็นประโยชน์ต่อประชาชนในเขตพื้นที่ของกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.นาปะขอ เพื่อการใช้งบประมาณในการแก้ปัญหาที่ตรงต่อความต้องการของประชาชนให้มากที่สุด

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุน ทต.เขาหัวช้าง โดย นางวาลัยพร ด้วงคง21 สิงหาคม 2564
21
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย วาลัยพร ด้วงคง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ลงประเมินโครงการและถอดบทเรียนกองทุนเทศบาลตำบลเขาหัวช้าง  ซึ่งใช้การแลกเปลี่ยน  การสัมภาษภาษณ์ประธานกองทุน  เลขากองทุน และเจ้าหน้าที่กองทุน  และกรรมการกองทุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการสัมภาษณ์ประธานกองทุน  และผู้เกี่ยวข้อง  ร่วมแลกเปลี่ยน  พบว่า กองทุนเทศบาลตำบลเขาหัวช้าง  มีการเบิกจ่ายเงินในปีนี้ออกได้ค่อนข้างเยอะมาก  เกือบ 100  เปอร์เซ็นต์  ซึ่งในปีที่แล้ว  เงินของกองทุนจะมีค้างอยู่จำนวนมาก  และหลังจากการที่ได้ลงพื้นที่ ได้แนะนำให้กับเจ้าหน้าที่  เลขา และ กรรมการ  ทำให้มีการใช้เงินของกองทุนได้เยอะขึ้น  ที่สำคัญได้นำเงินของกองทุนมาใช้แก้ปัญหาสถานการณ์โควฺด 19 ได้  หลายโครงการ    และได้มีการแลกเปลี่ยนการดำเนินงานกับเลขากองทุน  พบว่า  ผู้บริหารและกรรมการได้เข้าใจบทบาทของกองทุนมากยึ่งขึ้นทำให้การขับเคลื่อนงานกองทุนดำเนินการได้ได้อย่างต่อเนื่อง    และที่สำคัญประชาชนได้รับประโยชน์จากเงินของกองทุนได้ตรงตามเป้าหมายมากยิ่งขึ้น

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุน ทต.ตะโหมด โดย นางวาลัยพร ด้วงคง21 สิงหาคม 2564
21
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย วาลัยพร ด้วงคง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ได้ลงพื้นที่ถอดบทเรียนโครงการ กองทุนเทศบาลตำบลตะโหมด กับประธานกองทุน เลขากองทุน และเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบงานกองทุน  โดย ที่ใช้วิธีการสัมภาษณ์  และดูในระบบโปรแกรม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการถอดบทเรียนโครงการ พบว่ากองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลตะโหมด ได้นำตัวประกาศของกองทุน วัตถุประสงค์ของกองทุน นำไปดำเนินโครงการโดยการชี้แจงและทำความเข้าใจกับหน่วยขอรับทุน เพื่อความถูกตองในการเขียนโครงการขอรับสนับสนุนงบประมาณ  และสามารถนำไปแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ได้อย่างตรงตามเป้าหมาย และแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง  ซึ่งจะเห็นได้จากการดำเนินนงานของกองทุน พบว่า งบประมาณที่มีการเบิกจ่ายออกไป  เบิกจ่ายไปเกิน 80 เปอร์เซ็นต์  และโครงการต่าง ที่ได้ดำเนินการ ตอบโจทย์การแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพของพี่น้องประชาชนในพื้นที่ได้อย่างค่อนข้างที่จะชัด ที่สำคัญได้นำงบกองทุนไปใช้ในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์โควิด 19  ให้กับพี่น้องในเขตเทศบาลตำบลตะโหมด ได้รับผลประโยชน์ อย่างสูงสุด

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุน ทต.อ่าวพะยูน โดย นายกำพล เศรษฐสุข20 สิงหาคม 2564
20
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย กำพล เศรษฐสุข
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ประสานงานกับผู้รับผิดชอบกองทุน เพื่อกำหนดวันดำเนินกิจกรรมถอดบทเรียน 2.กำหนดกิจกรรมถอดบทเรียนโดยเป็นการนำเสนอของผู้รับผิดชอบกองทุน พี่เลี้ยงกองทุน และร่วมแลกเปลี่ยนรู้รู้กันของผู้เข้าร่วมกิจกรรม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการถอดบทเรียนโครงการ พบว่า กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลอ่าวพะยูน ได้นำตัวประกาศของกองทุน วัตถุประสงค์ของกองทุน นำไปดำเนินโครงการโดยการชี้แจงและทำความเข้าใจกับหน่วยงาน กลุ่ม องค์กร ที่ขอรับทุน เพื่อความถูกต้องในการเขียนโครงการขอรับสนับสนุนงบประมาณ  และสามารถนำไปแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ได้อย่างตรงตามเป้าหมาย และแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง ตามวัตถุประสงค์ของกองทุน  ซึ่งจะเห็นได้จากการดำเนินงานของกองทุนฯ  พบว่า งบประมาณที่มีการเบิกจ่ายออกไป  เบิกจ่ายไปประมาณ ร้อยละ 82.85 และโครงการต่าง ที่ได้ดำเนินการ ตอบโจทย์การแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพของพี่น้องประชาชนในพื้นที่ได้อย่างค่อนข้างที่จะชัด และเป็นไปตามแผนงาน/โครงการ ประเด็นตัวชี้วัดของ สปสช. เขต 12 ที่สำคัญได้นำงบกองทุนไปใช้ในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์โควิด 19  ให้กับประชาชน ในเขตเทศบาลอ่าวพะยูน

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุน อบต.โคกทราย โดย นายอ่ารีด พลนุ้ย20 สิงหาคม 2564
20
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย อ่ารีด พลนุ้ย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ได้ลงพื้นที่ถอดบทเรียนโครงการ กองทุน อบต.โคกทราย โดย ที่ใช้วิธีการสัมภาษณ์  และดูในระบบโปรแกรม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการถอดบทเรียนโครงการ พบว่ากองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โคกทราย ได้นำตัวประกาศของกองทุน วัตถุประสงค์ของกองทุน นำไปดำเนินโครงการโดยการชี้แจงและทำความเข้าใจกับหน่วยขอรับทุน เพื่อความถูกตองในการเขียนโครงการขอรับสนับสนุนงบประมาณ  และสามารถนำไปแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ได้อย่างตรงตามเป้าหมาย และแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง  ซึ่งจะเห็นได้จากการดำเนินนงานของกองทุน พบว่า งบประมาณที่มีการเบิกจ่ายออกไป  เบิกจ่ายไปเกิน 80 เปอร์เซ็นต์  และโครงการต่าง ที่ได้ดำเนินการสามารถตอบสนองปัญหาสุขภาพในตำบลได้เป็นอย่างดี

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุน อบต.ป่าพะยอม โดย นางสาวธมล มงคลศิลป์20 สิงหาคม 2564
20
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ธมล มงคลศิลป์ Coach
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

นัดหมายประธานกองทุน เลขานุการกองทุน และเจ้าหน้าที่กองทุน เพื่อเข้าไปแนะนำการประเมินโครงการ การถอดบทเรียนโครงการในโปรแกรม ตลอดจนขอความร่วมมือเร่งรัดให้มีการเบิกจ่ายงบประมาณเพื่อใช้ในการดูแลประชาชนและแนะนำการใช้งบประมาณในการดำเนินการเกี่ยวกับการป้องกัน ควบคุมและการรักษาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต
มีผู้เข้ารับการแนะนำ จำนวน 6 คนประกอบด้วย ประธานกองทุน เลขานุการกองทุน เจ้าหน้าที่กองทุน และอนุกรรมการกองทุน

ผลลัพท์
1.ผู้เกี่ยวข้องกับกองทุนฯในตำแหน่งต่าง ๆ มีความรู้ มีความเข้าใจในการประเมินโครงการและถอดบทเรียนโครงการในโปรแกรมได้
2.ผู้เกี่ยวข้องกับกองทุนฯในตำแหน่งต่าง ๆมีความเข้าใจในการใช้งบประมาณในการดำเนินการเกี่ยวกับการป้องกัน ควบคุมและการรักษาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
3.กองทุน ฯ สามารถใช้งบประมาณในการดูแลประชาชนได้มากขึ้น
4.การแลกเปลี่ยนการดำเนินงานกับเลขากองทุน พบว่าผู้บริหาร และกรรมการได้เข้าใจบทบาทของกองทุนมากขึ้น ทำให้การขับเคลื่อนงานกองทุนดำเนินการอย่างต่อเนื่อง และที่สำคัญประชาชนได้รับประโยชน์จากเงินกองทุนได้ตรงเป้าหมายมากยิ่งขึ้น

ประเมินผลโครการ / ถอดบทเรียนโครงการโครงการ กองทุน อบต.เกาะเต่า โดย นายศราวุฒิ เอียดดำ20 สิงหาคม 2564
20
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ธมล มงคลศิลป์ Coach
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

นัดหมายประธานกองทุน เลขานุการกองทุน และเจ้าหน้าที่กองทุน เพื่อเข้าไปแนะนำการประเมินโครงการ การถอดบทเรียนโครงการในโปรแกรม ตลอดจนขอความร่วมมือเร่งรัดให้มีการเบิกจ่ายงบประมาณเพื่อใช้ในการดูแลประชาชนและแนะนำการใช้งบประมาณในการดำเนินการเกี่ยวกับการป้องกัน ควบคุมและการรักษาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต
มีผู้เข้ารับการแนะนำ จำนวน 6 คนประกอบด้วย ประธานกองทุน เลขานุการกองทุน เจ้าหน้าที่กองทุน และอนุกรรมการกองทุน

ผลลัพท์
1.ผู้เกี่ยวข้องกับกองทุนฯในตำแหน่งต่าง ๆ มีความรู้ มีความเข้าใจในการประเมินโครงการและถอดบทเรียนโครงการในโปรแกรมได้
2.ผู้เกี่ยวข้องกับกองทุนฯในตำแหน่งต่าง ๆมีความเข้าใจในการใช้งบประมาณในการดำเนินการเกี่ยวกับการป้องกัน ควบคุมและการรักษาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
3.กองทุน ฯ สามารถใช้งบประมาณในการดูแลประชาชนได้มากขึ้น
4.การแลกเปลี่ยนการดำเนินงานกับเลขากองทุน พบว่าผู้บริหาร และกรรมการได้เข้าใจบทบาทของกองทุนมากขึ้น ทำให้การขับเคลื่อนงานกองทุนดำเนินการอย่างต่อเนื่อง และที่สำคัญประชาชนได้รับประโยชน์จากเงินกองทุนได้ตรงเป้าหมายมากยิ่งขึ้น

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ LTC กองทุนเทศบาลตำบลลานข่อย โดย นางกาญจนา ผอมดำ19 สิงหาคม 2564
19
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ธมล มงคลศิลป์ Coach
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ตรวจประเมินการดำเนินการของกองทุนหลักประกันสุขภาพและ กองทุน LTC ด้วยการตรวจเอกสารและการบันทึกข้อมูลลงในเวปไซด์ของ สปสช.เขต 12 ตามตัวชี้วัดที่กำหนด

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการตรวจประเมิน ตามแบบที่กำหนด ผลที่ออกมาดังนี้
1.การออกคำสั้งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน มีคำสั่งครบองค์ประกอบ
2.การบันทึกจำนวนประชากรในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
3.การบันทึกเงินที่ได้รับการจัดสรรในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
4.การบันทึกเงินสมทบจาก อปท.ในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
5.การบันทึกดอกเบี้ย 2 ครั้งต่อปี ในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
6.การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
7.การบันทึกแผนบริหารในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
8.การจัดทำแผนการเงิน รับ จ่ายประจำมี มี และผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการ
9.การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุน ประเภท 10(4) มีและถูกต้องสมบูรณ์
10.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) ทั้ง สองโครงการมีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ
11.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน มีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ มีครบถ้วนตามตัวชี้วัดจำนวน 2 โครงการ
12.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ จำนวน 2 โครงการ
13.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(5) มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ จำนวน 1 โครงการ
14.กองทุนไม่มีโครงการแก้ปัญหาโควิด - 19
15.กองทุนไม่มีการดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุน
16.การจัดทำบัญชี การเงินกองทุน ถูกต้อง
17.จำนวนเงินคงเหลือในระะบบกับบัญชีธนาคารตรงกัน
18.มีการรายงานการเงินรายเดือน รายไตรมาส และรายปี โดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติถูกต้อง
19.ประสิทธิภาพการเบิกกจ่ายและบริหารกองทุน มีหน่วยงานที่รับทุนหลากหลาย มีเงินคงเหลือในปี 2563 ไม่เกิน ร้อยละ 30 และมีการติดตามผลการดำเนินงาน
20.กองทุนมีการดำเนินงานกองทุน LTC
21.กองทุนมีคำสั้งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC ถูกต้องครบถ้วนตามองค์ประกอบ มีการประชุม 2 ครั้ง
22.โอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC คือ ศูนย์พัฒนาคุณภาพผู้สูงอายุ และ รพ.สต 23.หน่วยจัดบริการมีการรายงานผลการจัดบริการ

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ LTC กองทุน อบต.เกาะหมาก โดย นายกำพล เศรษฐสุข4 สิงหาคม 2564
4
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย กำพล เศรษฐสุข
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประสานผู้รับผิดชอบงาน กำหนดวัน วิธีการ การประเมินและเสริมพลัง  โดยกำหนดเป็นวันที่ 4 สิงหาคม 2564 เวลา 13.30 น. ณ อบต.เกาะหมาก วิธการประเมินจากการพูดคุยแลกเปลี่ยน การดูข้อมูลจากเอกสาร และการบันทึกข้อมูลผ่าน web site

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงเยี่ยมติดตามตามตัวชี้วัดดังนี้ 1.ประเด็นเรื่องคำสั่ง แต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานของทุนสุขภาพตำบลและ LTC ปรากฏว่ามีคำสั่งถูกต้อง ครบถ้วน 2.คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุนปี 2561 คำสั่งเพิ่มเติมและเปลี่ยนแปลง มีการเพิ่มเติมเปลี่ยนแปลงคำสั่งถูกต้องตามตัวประกาศ แต่ไม่ได้ส่งสำเนาคำสั่งเข้าระบบให้ สปสช.ทราบ 3.การบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม 3.1 กองทุนบันทึกข้อมูลประชากรครบถ้วน เป็นปัจจุบัน มีข้อมูล ณ 1 เมษายน 2564 3.2 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินที่ได้รับการจัดสรรจาก สปสช.ครบถ้วนเป็นปัจจุบัน 3.3 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินสมทบจาก อปท.ครบถ้วนเป็นปัจจุบัน 3.4 กองทุนมีการบันทึกเงินดอกเบี้ย 2 ครั้งต่อปี ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน 4.การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบล กองทุนมีการจัดทำแผนในโปรแกรมน้อยมาก โดยพบว่าในปี 2562 มีแผนงาน 9 แผนงาน ปี 2563 ไม่มีการจัดทำแผนงาน ปี 2564 มีแค่ 2 แผนงาน ได้แนะนำให้ผู้รับผิดชอบงานรีบดำเนินการคีย์แผนงานในระบบ 5.การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่าย ประจำปี มีการจัดทำ และนำเสนอคณะกรรมการกองทุนอนุมัติแผนก่อนการเบิกจ่ายเงิน แต่ตั้งงบประมาณในแต่ละประเภทยอดรวมไม่เท่ากับรายรับทั้งหมด ได้แนะนำไปเรียบร้อย 6.โครงการบริหารจัดการกองทุน บางกิจกรรมไม่สามารถดำเนินการตามแผนได้ และนำให้เปลี่ยนรูปแบบ/วิธีการดำเนินการ 7.โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 1-5 มีการดำเนินโครงการในปี 2563 เกือบทุกประเภท มีการดำเนินการตามแผนการจัดลำดับความสำคัญ พบว่าหน่วยบริการสาธารณสุขมีการขอสนับสนุนงบประมาณมากที่สุด และพบกลุ่มองค์กรประชาชน น้อยที่สุด 8.โครงการแก้ปัญหาโควิด -19 ได้ดำเนินการ มีเอกสารการรายงานผลมีการออกใบเสร็จรับเงินอย่างถูกต้อง 9.บัญชี-การเงินกองทุน ดูจากระบบเงินคงเหลือกับบัญชีถูกต้อง สามารถเบิกจ่ายเงินคงเหลือมีไม่ถึง 30%
10.มีเงินเหลือ ไม่ถึง 30% มีระบบการสนับ/ติดตาม การดำเนินโครงการที่ชัดเจน 11.มีการออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการและอนุกรรม LCT แต่งตั้งครบองค์ประกอบ 12. มีการประชุมคณะอนุกรรมการ LCT อย่างน้อย 2 ครั้ง/ปีมีการเบิกจ่ายเงินให้กรรมการในงบบริหารจัดการกองทุน
13. มีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LCT (ผ่านศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ มีเอกสารประกอบถูกต้อง) แต่ประเด็นการเบิกค่าตอบแทนของ CG มีความล่าช้า เนื่องจากภาระงานของพยาบาลที่ดูแลต้องดูแลครอบคลุมทั้งตำบล 2 หน่วยบริการ 14.การใช้จ่ายเงินของหน่วยจัดบริการ มีการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ มีการจัดซื้อวัสดุตามแผนการดูแลที่ผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการ

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ LTC กองทุนเทศบาลตำบลเกาะนางคำ โดย นายกำพล เศรษฐสุข4 สิงหาคม 2564
4
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย กำพล เศรษฐสุข
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประสานผู้รับผิดชอบงาน กำหนดวัน วิธีการ การประเมินและเสริมพลัง โดยกำหนดเป็นวันที่ 4 สิงหาคม 2564 เวลา 09.00 น. ณ เทศบาลตำบลเกาะนางคำ วิธการประเมินจากการพูดคุยแลกเปลี่ยน การดูข้อมูลจากเอกสาร และการบันทึกข้อมูลผ่าน web site

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลจากการประเมิน/เสริมพลัง ตามเกณฑ์ตัวชี้วัด มีดังนี้ 1.ประเด็นเรื่องคำสั่ง แต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานของทุนสุขภาพตำบลและ LTC ปรากฏว่ามีคำสั่งถูกต้อง ครบถ้วน 2.คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุนปี 2561 คำสั่งเพิ่มเติมและเปลี่ยนแปลง มีการเพิ่มเติมเปลี่ยนแปลงคำสั่งถูกต้องตามตัวประกาศ 3.การบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม 3.1 กองทุนบันทึกข้อมูลประชากรครบถ้วน เป็นปัจจุบัน มีข้อมูล ณ 1 เมษายน 2564 3.2 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินที่ได้รับการจัดสรรจาก สปสช.ครบถ้วนเป็นปัจจุบัน 3.3 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินสมทบจาก อปท.ครบถ้วนเป็นปัจจุบัน 3.4 กองทุนมีการบันทึกเงินดอกเบี้ย 2 ครั้งต่อปี ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน 4.การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม กองทุนมีการจัดทำแผน ได้แก่ (1)แผนงานบริหารจัดการกองทุน (2)แผนงานคนพิการ (3)แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด (4)แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง (5)แผนงานผู้สูงอายุ (6)แผนงานเด็ก เยาวชน และครอบครัว (7)แผนงานบุหรี่ และ (8)แผนงานกิจกรรมทางกาย มีการกำหนดสถานการณ์ตามปัญหาในพื้นที่มาเป็นตัวกำหนด จัดลำดับความสำคัญของปัญหาและนำโครงการมาแก้ปัญหาตามลำดับความสำคัญ 5.การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่าย ประจำปี มีการจัดทำ และนำเสนอคณะกรรมการกองทุนอนุมัติแผนก่อนการเบิกจ่ายเงิน แต่ตั้งงบประมาณในแต่ละประเภทยอดรวมไม่เท่ากับรายรับทั้งหมด ได้แนะนำไปเรียบร้อย 6.โครงการบริหารจัดการกองทุน บางกิจกรรมไม่สามารถดำเนินการตามแผนได้ และนำให้เปลี่ยนรูปแบบ/วิธีการดำเนินการ 7.โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 1-5 มีการดำเนินโครงการในปี 2563 เกือบทุกประเภท มีการดำเนินการตามแผนการจัดลำดับความสำคัญ หน่วยบริการสาธารณสุขในพื้นที่ไม่อยากขอรับเงินสนับสนุน เหตุผลเรื่องขั้นตอนการบริหารจัดการที่ยุ่งยาก 8.โครงการแก้ปัญหาโควิด -19 ได้ดำเนินการ มีเอกสารการรายงานผลมีการออกใบเสร็จรับเงินอย่างถูกต้อง 9.บัญชี-การเงินกองทุน ดูจากระบบเงินคงเหลือกับบัญชีถูกต้อง สามารถเบิกจ่ายเงินคงเหลือมีไม่ถึง 30%
10.มีเงินเหลือ ไม่ถึง 30% มีระบบการสนับ/ติดตาม การดำเนินโครงการที่ชัดเจน 11.มีการออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการและอนุกรรม LCT แต่งตั้งครบองค์ประกอบ 12. มีการประชุมคณะอนุกรรมการ LCT อย่างน้อย 2 ครั้ง/ปีมีการเบิกจ่ายเงินให้กรรมการในงบบริหารจัดการกองทุน
13. มีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LCT (ผ่านศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ มีเอกสารประกอบถูกต้อง) แต่ประเด็นการเบิกค่าตอบแทนของ CG มีความล่าช้า เนื่องจากภาระงานของพยาบาลที่ดูแลต้องดูแลครอบคลุมทั้งตำบล 2 หน่วยบริการ 14.การใช้จ่ายเงินของหน่วยจัดบริการ มีการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ มีการจัดซื้อวัสดุตามแผนการดูแลที่ผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการ

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ LTC กองทุน อบต.คลองเฉลิม โดย นายอ่ารีด พลนุ้ย30 กรกฎาคม 2564
30
กรกฎาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย อ่ารีด พลนุ้ย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ลงประเมินติดตามการทำงานกองทุนตำบลและกองทุนLCT ของอบต.คลองเฉลิม ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลคลองทรายขาว

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงนิเทศน์งานกองทุนตำบลพบว่า 1.มีคำสั่ง อปท.แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LCT
2.คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 คำสั่งเพิ่มเติมและเปลี่ยนแปลง มีการเพิ่มเติมเปลี่ยนแปลงคำสั่งถูกต้องตามตัวประกาศ 3.การป้อนจำนวนประชากร เพือรับการจัดสรรเงินและสมทบเงินเข้ากองทุน มีการแจ้งประชากรอย่างถูกต้อง มีการสมทบเงินหลัง 31 มีนาคม 2564 4.มีการจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบล และนำโครงการมาแก้ปัญหาตามพื้นที่ 5.การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่าย ประจำปี มีการจัดทำ และมีการนำเสนอคณะกรรมการกองทุนอนุมัติแผนก่อนการเบิกจ่ายเงิน
6.โครงการบริหารจัดการกองทุน มีโครงการตั้งงบตามระเบียบของ อปท. 7.โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 1-5 มีการดำเนินโครงการในปี 2563 เกือบทุกประเภท ได้แนะนำให้นำปัญหาที่แท้จริงมาจัดทำโครงการเพื่อสามารถที่จะแก้ปัญหาได้ตรงตามจุด
8.โครงการแก้ปัญหาโควิด -19 ได้ดำเนินการ มีเอกสารการรายงานผลมีการออกใบเสร็จรับเงินอย่างถูกต้อง 9.บัญชี-การเงินกองทุน ดูจากระบบได้แนะนำให้นำเสนอให้กับคณะกรรมการในการประชุมบางครั้ง 10.มีเงินเหลือ ไม่ถึง 30% มีหนังสืแจ้งติดตามโครงการที่ไม่ส่งรายงาน 11.มีการออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการและอนุกรรม LCT แต่งตั้งครบองค์ประกอบ 12. มีการประชุมคณะอนุกรรมการ LCT อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปีมีการเบิกจ่ายเงินให้กรรมการในงบบริหารจัดการกองทุน 13. มีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LCT (โอนให้ ศูนย์ ฯเอกสารประกอบถูกต้อง) 14.มีการจัดซื้อวัสดุตาม care plan ที่ผ่านการอนุมัติ

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ LTC กองทุนเทศบาลตำบลชะรัด โดย นายอ่ารีด พลนุ้ย30 กรกฎาคม 2564
30
กรกฎาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย อ่ารีด พลนุ้ย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ลงประเมินติดตามการทำงานกองทุนตำบลและกองทุนLCT ของเทศบาลตำบลชะรัด ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลคลองทรายขาว

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ดำเนินการนิเทศงานติดตามการดำเนินงานกองทุนสุขภาพตำบลชะรัด มีเจ้าหน้ารับผิดชอบ 2 คน และพี่เลี้ยงผู้นิเทศ 1 คน
จากการลงเยี่ยมติดตามตามตัวชี้วัด พบว่า 1.มีคำสั่ง อปท.แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LCT
2.คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 คำสั่งเพิ่มเติมและเปลี่ยนแปลง มีการเพิ่มเติมเปลี่ยนแปลงคำสั่งถูกต้องตามตัวประกาศ 3.การป้อนจำนวนประชากร เพื่อรับการจัดสรรเงินและสมทบเงินเข้ากองทุน มีการแจ้งประชากรอย่างถูกต้อง มีการสมทบเงินตามกำหนดเวลา
4.มีการจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบล คลอบคลุมทุกเเผน มีการกำหนดสถานการณ์ตามปัญหาในพื้นที่มาเป็นตัวกำหนด และนำโครงการมาแก้ปัญหาตามพื้นที่ 5.การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่าย ประจำปี มีการจัดทำ และนำเสนอคณะกรรมการกองทุนอนุมัติแผนก่อนการเบิกจ่ายเงิน 6.โครงการบริหารจัดการกองทุน มีโครงการตั้งงบ แต่ยังขาดกิจกรรมหลายกิจกรรม ได้แนะนำให้ทำตามระเบียบของ อปท. 7.โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 1-5 มีการดำเนินโครงการในปี 2563 คลอบคลุมทุกประเภท ได้แนะนำให้นำปัญหาที่แท้จริงมาจัดทำโครงการเพื่อสามารถที่จะแก้ปัญหาได้ตรงตามจุด
8.โครงการแก้ปัญหาโควิด -19 ได้ดำเนินการ มีเอกสารการรายงานผลมีการออกใบเสร็จรับเงินอย่างถูกต้อง 9.บัญชี-การเงินกองทุน ดูจากระบบได้แนะนำให้นำเสนอให้กับคณะกรรมการในการประชุมทุกครั้ง สามารถเบิกจ่ายเงินคงเหลือ
10.มีการายงานผลการจ่ายเงินให้หน่วยงานรับทุนทุกประเภท เเละจำนวนเงินคงเหลือเเต่ละปี ไม่เกิน 30% 11.มีการออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการและอนุกรรม LCT แต่งตั้งครบองค์ประกอบ มีการเเก้ไขครบถ้วน 12. มีการประชุมคณะอนุกรรมการ LCT อย่างน้อย 2 ครั้ง/ปีมีการเบิกจ่ายเงินให้กรรมการในงบบริหารจัดการกองทุน 13. มีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LCT (โดยศูนย์ฯ จัดบริการ) 14.การใช้จ่ายเงินของหน่วยจัดบริการ มีการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ LTC กองทุนเทศบาลตำบลกงหรา โดย นายประเทือง อมรวิริยะชัย30 กรกฎาคม 2564
30
กรกฎาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย เทือง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมนิเทศติดตามการดำเนินงานกองทุนสุขภาพตำบล จังหวัดพัทลุง ประจำปีงบประมาณ 2564 ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลคลองทรายขาว เวลา 08.30 - 12.00 น. -กล่าวความเป็นมาของการนิเทศงานครั้งนี้ โดยนายประเทือง อมรวิริยะชัย -ดำเนินการนิเทศงานโดยให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนสุขภาพตำบลคลองทรายขาว/ตำบลชะรัด/ตำบลคลองเฉลิม/ตำบลกงหรา ตามลำดับ เพื่อรักษาระยะห่าง ตามมาตรการป้องกันโรคโควิด 19 โดยมีพี่เลี้ยง นายประเทือง อมรวิริยะชัย และนายอ่ารีด  พลนุ้ย พี่เลี้ยง เป็นผู้นิเทศติดตาม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-ได้ดำเนินการนิเทศงานติดตามการดำเนินงานกองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลกงหรา มีเจ้าหน้ารับผิดชอบ 2 คน และพี่เลี้ยงผู้นิเทศ 1 คน -สรุปผลการเทศติดตามการดำเนินงานกองทุนสุขภาพตำบล จังหวัดพัทลุง  ประจำปีงบประมาณ 2564 กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลกงหรา 1.คำสั่ง อปท.แต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนและ LTC -มีคำสั่งเทศบาลตำบลกงหราที่ 214/2563 ลงวันที่ 2 กันยายน  2563 2.คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน  ปี 2561 คำสั่งเพิ่มเติมและเปลี่ยนแปลง -มีคำสั่งเทศบาลตำบลกงหรา ที่ 627/2561 ลงวันที่ 12 พฤษภคม  2564 3.การป้อน ปชก.เพื่อรับการจัดสรรเงิน และสมทบเงินเข้ากองทุน -มีการป้อนประชากรในเวปไซต์ ปี 2564 จำนวน 4,108 คน -มีการสมทบเงิน ปี 2564 เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน  2564 จำนวน 85,000 บาท 4.การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบล -การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็น ในเวปไซต์ ระบุแค่ 3 แผนและไม่มีความสมบูรณ์ของสถานการณ์และเป้าหมายของแผน โดยไม่ได้ระบุขนาดของสถานการณ์ และไม่ระบุจำนวนเป้าหมาย 5.การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี -มีแผนการเงินรับ-จ่าย ปี 2564 ผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการ ส่วนปี 2563 ไม่ได้นำเอกสารมา 6.โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ -มีกองทุนตำบลและกองทุน LTC ได้ตั้งวงเงินโครงการบริหาร จำนวน 20 %
-มีการประชุมทุกไตรมาส รวม 4 ครั้ง -มีการอบรมพัฒนาคณะกรรมการในการจัดทำแผนกองทุน -มีจ่ายค่าตอบแทนให้คณะกรรมการและ จนท.ถูกต้อง โดยการขออนุมัติยืมเงินและจ่ายเป็นเงินสด -ไม่มีการจัดซื้อครุภัณฑ์ 7.โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1,2,3,5) สิ่งที่พบในการเขียนโครงการคือ -การเขียนหลักการและเหตุผลสถานการณ์ของปัญหาไม่ระบุขนาดของปัญหา -การเขียนวัตถุประสงค์ไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ -ค่าใช้จ่ายยังไม่เกินภาระของกองทุน -เอกสารประกอบการเบิกถูกต้องครบถ้วน คือมี โครงการ/TOR/ใบเบิกเงิน/มีการลงนาม -หน่วยงานรับทุนมีการออกใบเสร็จรับเงิน เช่น รพ.สต.บ้านกงหราใหม่ มีการออกใบสำคัญรับเงิน กรณ๊เป็นองค์กรในชุมชน เช่น กลุ่ม อสม. -มีการรายงานผลการดำเนินงานตามกำหนดเวลา ภายในวันที่ 31 ธันวาคม -เอกสารทางการเงินประกอบค่าใช้จ่ายตามโครงการมีครบ 7.1.โครงการประเภท 10(1) จำนวน 2 โครงการ คือ

-  โครงการให้ความรู้และคืนข้อมูลโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงสู่ชุมชน                                                      -  โครงการส่งเสริมสุขภาพสตรีในการป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูก ประจำปี2563 7.2.โครงการประเภท 10(2) จำนวน 2 โครงการ คือ -  โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้านกีฬาต้านยาเสพติด ประจำปื 2563
-  โครงการออกเยี่ยมแม่ลูกหลังคลอด ประจำปี 2563 7.3.โครงการประเภท 10(3) จำนวน 2 โครงการ คือ - โครงการศูนย์เด็กปลอดโรค ประจำปี 2563
- โครงการ TO BENUMBER ONE ประจำปี 2563 7.4.โครงการประเภท 10(5) จำนวน 2 โครงการ คือ - โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) - โครงการป้องกันไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 8.โครงการแก้ปัญหาโควิด-19 -มีโครงการแก้ปัญหาโควิด 19 ไม่เกิน 1 แสนบาท ใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุน 10(1) -เอกสารประกอบการเบิกถูกต้องครบถ้วน คือมี โครงการ/TOR/ใบเบิกเงิน/มีการลงนาม -หน่วยงานรับทุนมีการออกใบเสร็จรับเงิน เช่น รพ.สต.บ้านกงหราใหม่ มีการออกใบสำคัญรับเงิน กรณ๊เป็นองค์กรในชุมชน เช่น กลุ่ม อสม. -มีการรายงานผลการดำเนินงานตามกำหนดเวลา ภายในวันที่ 31 ธันวาคม -เอกสารทางการเงินประกอบค่าใช้จ่ายตามโครงการมีครบ 9.บัญชี-การเงินกองทุน -มีจำนวนเงินคงเหลือในบัญชี กับในเวปไซต์ยังไม่ตรงกัน เนื่องจากได้ตัดยอดในเวปไซต์แล้ว แต่ในระบบบัญชียังไม่ได้โอน -รายงานการเงินรายเดือนรายไตรมาสรายปี ไม่ได้พิมพ์จากระบบ 10.ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน -ประเภทหน่วยงานรับทุนหลากหลาย เช่น จากชุมชน/กลุ่ม อสม./จาก รพ.สต. -เงินคงเหลือสิ้นปี =15,948.53 บาท ซึ่งคงเหลือ ไม่เกิน 30 % 11.คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC -มีคำสั่งแต่งตั้งครบองค์ประกอบ จากคำสั่งกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกงหราที่ 001/2561 ลงวันที่ 2 มกราคม 2561

12.ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC -มีการประชุม 1 ครั้ง เมื่อวันที่ 16 กันยายน  2564 -มีการเบิกจ่ายค่าตอบแทนคณะอนุกรรมการจากเงินโครงการ อัตรา 300 บาท 13.การโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC -ประเภทหน่วยจัดบริการโดยศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
-มีเอกสารประกอบการเบิกเงิน TOR/โครงการ LTC /ใบสำคัญรับเงิน 14.การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ -การรายงานผลการจัดบริการของ CG มีการรวบรวมเอกสารเดือนละครั้งผ่าน รพ.สต.บ้านกงหราใหม่

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ LTC กองทุนเทศบาลตำบลคลองทรายขาว โดย นายประเทือง อมรวิระยะชัย30 กรกฎาคม 2564
30
กรกฎาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย เทือง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมนิเทศติดตามการดำเนินงานกองทุนสุขภาพตำบล จังหวัดพัทลุง ประจำปีงบประมาณ 2564 ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลคลองทรายขาว เวลา 08.30 - 12.00 น. -กล่าวความเป็นมาของการนิเทศงานครั้งนี้ โดยนายประเทือง  อมรวิริยะชัย -ดำเนินการนิเทศงานโดยให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนสุขภาพตำบลคลองทรายขาว/ตำบลชะรัด/ตำบลคลองเฉลิม/ตำบลกงหรา ตามลำดับ เพื่อรักษาระยะห่าง ตามมาตรการป้องกันโรคโควิด 19 โดยมีพี่เลี้ยง นายประเทือง  อมรวิริยะชัย และนายอ่ารีด  พลนุ้ย พี่เลี้ยง เป็นผู้นิเทศติดตาม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-ได้ดำเนินการนิเทศงานติดตามการดำเนินงานกองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลคลองทรายขาว มีเจ้าหน้ารับผิดชอบ 2 คน และพี่เลี้ยงผู้นิเทศ 1 คน -สรุปผลการเทศติดตามการดำเนินงานกองทุนสุขภาพตำบล จังหวัดพัทลุง  ประจำปีงบประมาณ 2564 กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลคลองทรายขาว 1.คำสั่ง อปท.แต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนและ LTC -มีคำสั่งเทศบาลตำบลคลองทรายขาว ที่ 506/2561 ลงวันที่ 1 ตุลาคม  2561 2.คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน  ปี 2561 คำสั่งเพิ่มเติมและเปลี่ยนแปลง -มีคำสั่งเทศบาลตำบลคลองทรายขาว ที่ 652/2561 ลงวันที่ 27  ธันวาคม  2561 3.การป้อน ปชก.เพื่อรับการจัดสรรเงิน และสมทบเงินเข้ากองทุน -มีการป้อนประชากรในเวปไซต์ ปี 2564 จำนวน 6,793 คน -มีการสมทบเงิน ปี 2564 ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 27 พ.ค.2564 จำนวน 30,000 บาท และครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 5 ก.ค.2564 จำนวน 50,000 บาท รวมทั้ง 2 ครั้ง เป็นเงิน 80,000 บาท 4.การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบล -การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็น ในเวปไซต์ แต่ไม่มีความสมบูรณ์ของสถานการณ์และเป้าหมายของแผน โดยไม่ได้ระบุขนาดของสถานการณ์ และไม่ระบุจำนวนเป้าหมาย 5.การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี -มีแผนการเงินรับ-จ่าย ปี 2563 ผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการ
6.โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ -มีกองทุนตำบลและกองทุน LTC ได้ตั้งวงเงินโครงการบริหาร จำนวน 20 % เป็นเงิน 111,011 บาท -มีการประชุมทุกไตรมาส รวม 3 ครั้ง ครั้งที่ 1 วันที่ 9 ม.ค.63 ครั้งที่ 2 วันที่ 10 มี.ค.63 1ครั้งที่ 3 วันที่ 24 ก.ย.63 -มีการอบรมโครงการพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการโดยการศึกษาดูงานใช้เงิน 37,000 บาท -มีจ่ายค่าตอบแทนให้คณะกรรมการและ จนท.ถูกต้อง โดยการขออนุมัติยืมเงินและจ่ายเป็นเงินสด -มีการจัดซื้อครุภัณฑ์ โต๊ะ และวัสดุสำนักงาน 7.โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1,2,3,5) โครงการทั้งหมด 32 โครงการ ประเภทที่ 1 มี 7 โครงการ ประเภทที่ 2 มี 15 โครงการ ประเภทที่ 3 มี 8 โครงการ ประเภทที่ 4 มี 1 โครงการ และประเภทที่ 5 มี 1 โครงการ สิ่งที่พบในการเขียนโครงการคือ -การเขียนหลักการและเหตุผลสถานการณ์ของปัญหาไม่ระบุขนาดของปัญหา -การเขียนวัตถุประสงค์ไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ -ค่าใช้จ่ายยังไม่เกินภาระของกองทุน -เอกสารประกอบการเบิกถูกต้องครบถ้วน คือมี โครงการ/TOR/ใบเบิกเงิน/มีการลงนาม -หน่วยงานรับทุนมีการออกใบเสร็จรับเงิน เช่น มีการออกใบสำคัญรับเงิน กรณ๊เป็นองค์กรในชุมชน เช่น กลุ่ม อสม. -มีการรายงานผลการดำเนินงานตามกำหนดเวลา ภายในวันที่ 31 ธันวาคม -เอกสารทางการเงินประกอบค่าใช้จ่ายตามโครงการมีครบ 8.โครงการแก้ปัญหาโควิด-19 -มีโครงการแก้ปัญหาโควิด 19 ไม่เกิน 1 แสนบาท ใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุน 10(1) -เอกสารประกอบการเบิกถูกต้องครบถ้วน คือมี โครงการ/TOR/ใบเบิกเงิน/มีการลงนาม -หน่วยงานรับทุนมีการออกใบเสร็จรับเงิน มีการออกใบสำคัญรับเงิน กรณ๊เป็นองค์กรในชุมชน เช่น กลุ่ม อสม. -มีการรายงานผลการดำเนินงานตามกำหนดเวลา ภายในวันที่ 31 ธันวาคม -เอกสารทางการเงินประกอบค่าใช้จ่ายตามโครงการมีครบ 9.บัญชี-การเงินกองทุน -มีจำนวนเงินคงเหลือในบัญชี สิ้นปี 40,927.30 บาท -มีเอกสารการพิมพ์ออกจากระบบ 10.ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน -ประเภทหน่วยงานรับทุนหลากหลาย เช่น จากชุมชน/กลุ่ม อสม./จาก รพ.สต. -เงินคงเหลือสิ้นปี =40,927.30 บาท ซึ่งคงเหลือ ไม่เกิน 30 % 11.คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC -มีคำสั่งแต่งตั้งครบองค์ประกอบ จากคำสั่งกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลคลองทรายขาว ที่ 4/2563  ลงวันที่ 30 มกราคม 2563

12.ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC -มีการประชุม 2 ครั้ง  ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 6 ก.พ.2563 ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 26 มิ.ย.2563 -มีการเบิกจ่ายค่าตอบแทนคณะอนุกรรมการจากเงินโครงการ อัตรา 300 บาท 13.การโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC -ประเภทหน่วยจัดบริการโดยศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
-มีเอกสารประกอบการเบิกเงิน TOR/โครงการ LTC /ใบสำคัญรับเงิน 14.การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ -ติดตามทางไลน์ ส่งสมุดปฏิบัติงานทางไลน์ ส่งภาพ เบิกเงินเดือนละครั้ง
-มีการจัดซื้อวัสดุ

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ LTC กองทุนเทศบาลตำบลจองถนน โดย พ.จ.อ.หญิง อมรรัตน์ ทวีตา30 กรกฎาคม 2564
30
กรกฎาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย อมรรัตน์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ลงประเมินติดตามการทำงานกองทุนตำบลและกองทุนLCT ของเทศบลตำบลจองถนน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงเยี่ยมติดตามตามตัวชี้วัดดังนี้ 1.มีคำสั่ง อปท.แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LCT
2.คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 คำสั่งเพิ่มเติมและเปลี่ยนแปลง มีการเพิ่มเติมเปลี่ยนแปลงคำสั่งถูกต้องตามตัวประกาศ 3.การป้อนจำนวนประชากร เพือรับการจัดสรรเงินและสมทบเงินเข้ากองทุน มีการแจ้งประชากรอย่างถูกต้อง มีการสมทบเงินตามกำหนดเวลา
4.การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบล ได้แก่แผนอุบัติเหตุ แผนโรคระบาด แผนสิ่งแวดล้อม แผนคนพิการ แผนประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง แผนผู้สูงอายุ แผนอนามันแม่และเด็ก แผนเด็กและเยาวชน แผนโรคเรื้อรัง แผนบริหารจัดการกองทุนแผนอาหารและโภชนาการ มีการกำหนดสถานการณ์ตามปัญหาในพื้นที่มาเป็นตัวกำหนด และนำโครงการมาแก้ปัญหาตามพื้นที่ 5.การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่าย ประจำปี มีการจัดทำ และนำเสนอคณะกรรมการกองทุนอนุมัติแผนก่อนการเบิกจ่ายเงิน แต่ตั้งงบประมาณในแต่ละประเภทยอดรวมไม่เท่ากับรายรับทั้งหมด ได้แนะนำไปเรียบร้อย 6.โครงการบริหารจัดการกองทุน มีโครงการตั้งงบ แต่ยังขาดกิจกรรมหลายกิจกรรม ได้แนะนำให้ทำตามระเบียบของ อปท. 7.โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 1-5 มีการดำเนินโครงการในปี 2563 เกือบทุกประเภท ได้แนะนำให้นำปัญหาที่แท้จริงมาจัดทำโครงการเพื่อสามารถที่จะแก้ปัญหาได้ตรงตามจุด ขาดการรายงานผลไม่เป็นปัจจุบัน ข้อมูลการรายงานผลยังไม่ครบถ้วน 8.โครงการแก้ปัญหาโควิด -19 ได้ดำเนินการ มีเอกสารการรายงานผลมีการออกใบเสร็จรับเงินอย่างถูกต้อง 9.บัญชี-การเงินกองทุน ดูจากระบบได้แนะนำให้นำเสนอให้กับคณะกรรมการในการประชุมทุกครั้ง สามารถเบิกจ่ายเงินคงเหลือ
10.มีเงินเหลือ ไม่ถึง 30% มีหนังสืแจ้งติดตามโครงการที่ไม่ส่งรายงาน 11.มีการออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการและอนุกรรม LCT แต่งตั้งครบองค์ประกอบ 12. มีการประชุมคณะอนุกรรมการ LCT อย่างน้อย 2 ครั้ง/ปีมีการเบิกจ่ายเงินให้กรรมการในงบบริหารจัดการกองทุน 13. มีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LCT (โอนให้ รพ.สต.ในพื้นที่ เอกสารประกอบถูกต้อง) 14.การใช้จ่ายเงินของหน่วยจัดบริการ มีการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG มีการจัดซื้อวัสดุตาม care plan ที่ผ่านการอนุมัติ

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ LTC กองทุนเทศบาลตำบลดอนประดู่ โดย นายเสงี่ยม ศรีทวี27 กรกฎาคม 2564
27
กรกฎาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย นายเสงี่ยม ศรีทวี
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ตรวจประเมินการดำเนินการของกองทุนหลักประกันสุขภาพและ กองทุน LTC ด้วยการตรวจเอกสารและการบันทึกข้อมูลลงในเวปไซด์ของ สปสช.เขต 12 ตามตัวชี้วัดที่กำหนด

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีคำสั่ง อปท.แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LCT
2.คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 คำสั่งเพิ่มเติมและเปลี่ยนแปลง มีการเพิ่มเติมเปลี่ยนแปลงคำสั่งถูกต้องตามตัวประกาศ 3.การป้อนจำนวนประชากร เพือรับการจัดสรรเงินและสมทบเงินเข้ากองทุน มีการแจ้งประชากรอย่างถูกต้อง มีการสมทบเงินเกินกำหนดในวันที่ 2  มิถุนายน 2564 เนื่องจากท้องถิ่นไม่มีงบประมาณ 4.การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลแผนยังขาดความสมบูรณ์ และสถานการณ์ของแผน ได้แนะนำเพิ่มเติมแผนคีย์ในระบบ 5.การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่าย ประจำปี ยังไม่มีการจัดทำแผน แนะนำให้ดำเนินการทำแผนนำเข้าที่ประชุมคณะกรรมการอนุมัติก่อนที่จะเบิกจ่ายเงิน 6.โครงการบริหารจัดการกองทุน มีโครงการ แต่ยังขาดกิจกรรมหลายกิจกรรมในการจัดซื้อครุภัณฑ์ยังขาดเอกสารการจัดซื้อ ได้แนะนำให้ทำตามระเบียบของ อปท. 7.โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 1-5 มีการดำเนินโครงการในปี 2563 เกือบทุกประเภท แต่ลักษณะโครงการไม่ค่อยนำปัญหาที่แท้จริงมาทำโครงการลักษณะของโครงการไม่ตอบปัญหาของพื้นที่มากเท่าที่ควร และยังไม่มีการบันทึกโครงการในเวปไซต์ ได้แนะนำให้นำปัญหาที่แท้จริงมาจัดทำโครงการเพื่อสามารถที่จะแก้ปัญหาได้ตรงตามจุด การบันทึกข้อมูลในเวปไซต์ ขาดการรายงานผลไม่เป็นปัจจุบัน 8.โครงการแก้ปัญหาโควิด -19 ได้ดำเนินการ มีเอกสารการรายงานผลมีการออกใบเสร็จรับเงินบางไม่ครบถ้วน
9.บัญชี-การเงินกองทุน ดูจากระบบเงินคงเหลือกับบัญชีไม่ตรงกัน ไม่ได้นำเสนอให้กับคณะกรรมการในการประชุมทุกครั้ง เงินสามารถเบิกจ่ายเงินคงเหลือมีไม่ถึง 30%
10.มีเงินเหลือ ไม่ถึง 30% ไม่มีหนังสือแจ้งติดตามโครงการที่ไม่ส่งรายงาน หรือเอกสารขอขยายเวลาโครงการ 11.มีการออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการและอนุกรรม LCT แต่งตั้งครบองค์ประกอบ 12. มีการประชุมคณะอนุกรรมการ LCT อย่างน้อย 2 ครั้ง/ปีมีการเบิกจ่ายเงินให้กรรมการในงบบริหารจัดการกองทุน 13. มีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LCT (ผ่านศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ มีเอกสารการเงินไม่ครบถ้วน) 14.การใช้จ่ายเงินของหน่วยจัดบริการ มีการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG มีการจัดซื้อวัสดุตามแคร์แปลนที่ผ่านการอนุมัติ 15.หน่วยจัดบริการไม่มีการรายงานผลการจัดบริการ

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ LTC กองทุนเทศบาลตำบลดอนทราย โดย นายเสงี่ยม ศรีทวี27 กรกฎาคม 2564
27
กรกฎาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย นายเสงี่ยม ศรีทวี
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.มีคำสั่ง อปท.แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LCT
2.คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 คำสั่งเพิ่มเติมและเปลี่ยนแปลง มีการเพิ่มเติมเปลี่ยนแปลงคำสั่งถูกต้องตามตัวประกาศ 3.การป้อนจำนวนประชากร เพือรับการจัดสรรเงินและสมทบเงินเข้ากองทุน มีการแจ้งประชากรอย่างถูกต้อง มีการสมทบเงินภายในเวลาที่กำหนดในธันวาคม 2563 4.การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลมีความความสมบูรณ์  ได้เน้นย้ำการจัดทำแผนงาน/โครงการตามปัญหาและประเด็นเน้นย้ำของ สปสช.เขต12 5.การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่าย ประจำปี มีการจัดทำแผน และได้นำเข้าที่ประชุมคณะกรรมการอนุมัติก่อนที่จะเบิกจ่ายเงิน 6.โครงการบริหารจัดการกองทุน มีโครงการ มีกิจกรรมหลายกิจกรรมในการจัดซื้อครุภัณฑ์ยังขาดเอกสารการจัดซื้อ ได้แนะนำให้ทำตามระเบียบของ อปท. 7.โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 1-5 มีการดำเนินโครงการในปี 2563 เกือบทุกประเภท มีการรายงานผลเป็นปัจจุบัน 8.โครงการแก้ปัญหาโควิด -19 ได้ดำเนินการ มีเอกสารการรายงานผลมีการออกใบเสร็จรับเงินอย่างถูกต้อง 9.บัญชี-การเงินกองทุน ดูจากระบบเงินคงเหลือกับบัญชีตรงกัน และได้นำเสนอให้กับคณะกรรมการในการประชุมทุกครั้ง เงินสามารถเบิกจ่ายเงินคงเหลือมีไม่ถึง 30%
10.มีเงินเหลือ ไม่ถึง 30%
11.มีการออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการและอนุกรรม LCT แต่งตั้งครบองค์ประกอบ 12. มีการประชุมคณะอนุกรรมการ LCT อย่างน้อย 2 ครั้ง/ปีมีการเบิกจ่ายเงินให้กรรมการในงบบริหารจัดการกองทุน 13. มีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LCT (ผ่านศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ มีเอกสารประกอบถูกต้อง) 14.การใช้จ่ายเงินของหน่วยจัดบริการ มีการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG มีการจัดซื้อวัสดุตามแคร์แปลนที่ผ่านการอนุมัติ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการตรวจประเมิน ตามแบบที่กำหนด ผลที่ออกมาดังนี้
1.การออกคำสั้งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน มีคำสั่งครบองค์ประกอบ
2.การบันทึกจำนวนประชากรในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
3.การบันทึกบันที่ได้รับการจัดสรรในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
4.การบันทึกเงินสมทบจาก อปท.ในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
5.การบันทึกดอกเบี้ย 2 ครั้งต่อปี ในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
6.การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
7.การบันทึกแผนบริหารในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
8.การจัดทำแผนการเงิน รับ จ่ายประจำมี มี และผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการ
9.การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุน ประเภท 10(4) มีและถูกต้องสมบูรณ์
10.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) ทั้ง สองโครงการมีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ
11.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน มีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ มีครบถ้วนตามตัวชี้วัดจำนวน 2 โครงการ
12.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ จำนวน 2 โครงการ
13.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(5) มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ จำนวน 1 โครงการ
14.กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด - 19 ถูกต้องสมบูรณ์ จำนวน 1 โครงการ
15.กองทุนมีการดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุนถูกต้อง
16.การจัดทำบัญชี การเงินกองทุน ถูกต้อง
17.จำนวนเงินคงเหลือในระะบบกับบัญชีธนาคารตรงกัน
18.มีการรายงานการเงินรายเดือน รายไตรมาส และรายปี โดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติถูกต้อง
19.ประสิทธิภาพการเบิกกจ่ายและบริหารกองทุน มีหน่วยงานที่รับทุนหลากหลาย มีเงินคงเหลือในปี 2563 ไม่เกิน ร้อยละ 30 และมีการติดตามผลการดำเนินงาน
20.กองทุนมีการดำเนินงานกองทุน LTC
21.กองทุนมีคำสั้งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC ถูกต้องครบถ้วนตามองค์ประกอบ มีการประชุม 2 ครั้ง
22.โอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC คือ ศูนย์พัฒนาคุณภาพผู้สูงอายุ
23.หน่วยจัดบริการไม่มีการรายงานผลการจัดบริการ

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ LTC กองทุนเทศบาลตำบลคลองใหญ่ โดย นางวาลัยพร ด้วงคง25 กรกฎาคม 2564
25
กรกฎาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย วาลัยพร ด้วงคง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ลงประเมินติดตามการทำงานกองทุนตำบลและกองทุนLCT ของเทศบลตำบลคลองใหญ่

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงเยี่ยมติดตามตามตัวชี้วัดดังนี้ 1.มีคำสั่ง อปท.แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LCT
2.คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 คำสั่งเพิ่มเติมและเปลี่ยนแปลง มีการเพิ่มเติมเปลี่ยนแปลงคำสั่งถูกต้องตามตัวประกาศ 3.การป้อนจำนวนประชากร เพือรับการจัดสรรเงินและสมทบเงินเข้ากองทุน มีการแจ้งประชากรอย่างถูกต้อง มีการสมทบเงินตามกำหนดเวลาสมทบวันที่ 22มกราคม 2564 เป็นเงิน 151,000 บาท
4.การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบล ได้แก่แผนอุบัติเหตุ แผนโรคระบาด แผนสิ่งแวดล้อม แผนคนพิการ แผนประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง แผนผู้สูงอายุ แผนอนามันแม่และเด็ก แผนเด็กและเยาวชน แผนโรคเรื้อรัง แผนบริหารจัดการกองทุนแผนอาหารและโภชนาการ มีการกำหนดสถานการณืตามปัญหาในพื้นที่มาเป็นตัวกำหนด และนำโครงการมาแก้ปัญหาตามพื้นที่ 5.การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่าย ประจำปี มีการจัดทำ และนำเสนอคณะกรรมการกองทุนอนุมัติแผนก่อนการเบิกจ่ายเงิน แต่ตั้งงบประมาณในแต่ละประเภทยอดรวมไม่เท่ากับรายรับทั้งหมด ได้แนะนำไปเรียบร้อย 6.โครงการบริหารจัดการกองทุน มีโครงการตั้งงบ แต่ยังขาดกิจกรรมหลายกิจกรรมในการจัดซื้อครุภัณฑ์ยังขาดเอกสารการจัดซื้อ ได้แนะนำให้ทำตามระเบียบของ อปท. 7.โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 1-5 มีการดำเนินโครงการในปี 2563 เกือบทุกประเภท แต่ลักษณะโครงการไม่ค่อยนำปัญหาที่แท้จริงมาทำโครงการลักษณะของโครงการไม่ตอบปัญหาของพื้นที่มากเท่าที่ควร ได้แนะนำให้นำปัญหาที่แท้จริงมาจัดทำโครงการเพื่อสามารถที่จะแก้ปัญหาได้ตรงตามจุด ขาดการรายงานผลไม่เป็นปัจจุบัน 8.โครงการแก้ปัญหาโควิด -19 ได้ดำเนินการ มีเอกสารการรายงานผลมีการออกใบเสร็จรับเงินอย่างถูกต้อง 9.บัญชี-การเงินกองทุน ดูจากระบบเงินคงเหลือกับบัญชีไม่ตรงกัน ได้แนะนำให้ทำงบประทบยอดได้นำเสนอให้กับคณะกรรมการในการประชุมทุกครั้ง เงินสามารถเบิกจ่ายเงินคงเหลือมีไม่ถึง 30%
10.มีเงินเหลือ ไม่ถึง 30% มีหนังสืแจ้งติดตามโครงการที่ไม่ส่งรายงาน 11.มีการออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการและอนุกรรม LCT แต่งตั้งครบองค์ประกอบ 12. มีการประชุมคณะอนุกรรมการ LCT อย่างน้อย 2 ครั้ง/ปีมีการเบิกจ่ายเงินให้กรรมการในงบบริหารจัดการกองทุน 13. มีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LCT (ผ่านศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ มีเอกสารประกอบถูกต้อง) 14.การใช้จ่ายเงินของหน่วยจัดบริการ มีการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG มีการจัดซื้อวัสดุตามแคร์แปลนที่ผ่านการอนุมัติ

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ LTC กองทุนเทศบาลตำบลปากพะยูน โดย นางวาลัยพร ด้วงคง25 กรกฎาคม 2564
25
กรกฎาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย วาลัยพร ด้วงคง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประเมิเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและกองทุน LCT ของเทศบาลตำบลปากพะยูน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงเยี่ยมติดตามตามตัวชี้วัดดังนี้ 1.มีคำสั่ง อปท.แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LCT
2.คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 คำสั่งเพิ่มเติมและเปลี่ยนแปลง มีการเพิ่มเติมเปลี่ยนแปลงคำสั่งถูกต้องตามตัวประกาศ 3.การป้อนจำนวนประชากร เพือรับการจัดสรรเงินและสมทบเงินเข้ากองทุน มีการแจ้งประชากรอย่างถูกต้อง มีการสมทบเงินเกินกำหนดในวันที่ 7 กรกฎาคม 2564 เนื่องจากท้องถิ่นไม่มีงบประมาณ 4.การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลแผนยังขาดความสมบูรณ์ และสถานการณ์ของแผน ได้แนะนำเพิ่มเติมแผนคีย์ในระบบ 5.การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่าย ประจำปี ยังไม่มีการจัดทำแผน แนะนำให้ดำเนินการทำแผนนำเข้าที่ประชุมคณะกรรมการอนุมัติก่อนที่จะเบิกจ่ายเงิน 6.โครงการบริหารจัดการกองทุน มีโครงการ แต่ยังขาดกิจกรรมหลายกิจกรรมในการจัดซื้อครุภัณฑ์ยังขาดเอกสารการจัดซื้อ ได้แนะนำให้ทำตามระเบียบของ อปท. 7.โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 1-5 มีการดำเนินโครงการในปี 2563 เกือบทุกประเภท แต่ลักษณะโครงการไม่ค่อยนำปัญหาที่แท้จริงมาทำโครงการลักษณะของโครงการไม่ตอบปัญหาของพื้นที่มากเท่าที่ควร ได้แนะนำให้นำปัญหาที่แท้จริงมาจัดทำโครงการเพื่อสามารถที่จะแก้ปัญหาได้ตรงตามจุด ขาดการรายงานผลไม่เป็นปัจจุบัน 8.โครงการแก้ปัญหาโควิด -19 ได้ดำเนินการ มีเอกสารการรายงานผลมีการออกใบเสร็จรับเงินอย่างถูกต้อง 9.บัญชี-การเงินกองทุน ดูจากระบบเงินคงเหลือกับบัญชีไม่ตรงกัน ไม่ได้นำเสนอให้กับคณะกรรมการในการประชุมทุกครั้ง เงินสามารถเบิกจ่ายเงินคงเหลือมีไม่ถึง 30%
10.มีเงินเหลือ ไม่ถึง 30% มีหนังสืแจ้งติดตามโครงการที่ไม่ส่งรายงาน 11.มีการออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการและอนุกรรม LCT แต่งตั้งครบองค์ประกอบ 12. มีการประชุมคณะอนุกรรมการ LCT อย่างน้อย 2 ครั้ง/ปีมีการเบิกจ่ายเงินให้กรรมการในงบบริหารจัดการกองทุน 13. มีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LCT (ผ่านศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ มีเอกสารประกอบถูกต้อง) 14.การใช้จ่ายเงินของหน่วยจัดบริการ มีการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG มีการจัดซื้อวัสดุตามแคร์แปลนที่ผ่านการอนุมัติ

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ LTC กองทุน อบต.วังใหม่ โดย นายนราวุฒิ แก้วหนูนวล23 กรกฎาคม 2564
23
กรกฎาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย นราวุฒิ แก้วหนูนวล
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ตรวจประเมินการดำเนินการของกองทุนหลักประกันสุขภาพและ กองทุน LTC ด้วยการตรวจเอกสารและการบันทึกข้อมูลลงในเวปไซด์ของ สปสช.เขต 12 ตามตัวชี้วัดที่กำหนด

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการตรวจประเมิน ตามแบบที่กำหนด ผลที่ออกมาดังนี้
1.การออกคำสั้งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน มีคำสั่งครบองค์ประกอบ
2.การบันทึกจำนวนประชากรในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
3.การบันทึกบันที่ได้รับการจัดสรรในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
4.การบันทึกเงินสมทบจาก อปท.ในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
5.การบันทึกดอกเบี้ย 2 ครั้งต่อปี ในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
6.การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในเวปไซด์ บันทึกไม่ครบถ้วน
7.การบันทึกแผนบริหารในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
8.การจัดทำแผนการเงิน รับ จ่ายประจำมี มี และผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการ
9.การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุน ประเภท 10(4) มีและถูกต้องสมบูรณ์
10.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) ทั้ง สองโครงการมีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ
11.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน แแต่ไม่มีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ มีครบถ้วนตามตัวชี้วัดจำนวน 1 โครงการ
12.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ จำนวน 2 โครงการ
13.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(5) มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ จำนวน 1 โครงการ
14.กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด - 19 ถูกต้องสมบูรณ์ จำนวน 1 โครงการ
15.กองทุนมีการดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุนถูกต้อง
16.การจัดทำบัญชี การเงินกองทุน ถูกต้อง
17.จำนวนเงินคงเหลือในระะบบกับบัญชีธนาคารตรงกัน
18.มีการรายงานการเงินรายเดือน รายไตรมาส และรายปี โดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติถูกต้อง
19.ประสิทธิภาพการเบิกกจ่ายและบริหารกองทุน มีหน่วยงานที่รับทุนหลากหลาย มีเงินคงเหลือในปี 2563 ไม่เกิน ร้อยละ 30 และมีการติดตามผลการดำเนินงาน
20.กองทุนมีการดำเนินงานกองทุน LTC
21.กองทุนมีคำสั้งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC ถูกต้องครบถ้วนตามองค์ประกอบ มีการประชุม 2 ครั้ง
22.โอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC คือ ศูนย์พัฒนาคุณภาพผู้สูงอายุ
23.หน่วยจัดบริการไม่มีการรายงานผลการจัดบริการ

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ LTC กองทุน อบต.เขาย่า โดย นางสาวปรียาภรณ์ คงผอม22 กรกฎาคม 2564
22
กรกฎาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ธมล มงคลศิลป์ Coach
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ตรวจประเมินการดำเนินการของกองทุนหลักประกันสุขภาพและ กองทุน LTC ด้วยการตรวจเอกสารและการบันทึกข้อมูลลงในเวปไซด์ของ สปสช.เขต 12 ตามตัวชี้วัดที่กำหนด

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการตรวจประเมิน ตามแบบที่กำหนด ผลที่ออกมาดังนี้
1.การออกคำสั้งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน มีคำสั่งครบองค์ประกอบ
2.การบันทึกจำนวนประชากรในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
3.การบันทึกบันที่ได้รับการจัดสรรในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
4.การบันทึกเงินสมทบจาก อปท.ในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
5.การบันทึกดอกเบี้ย 2 ครั้งต่อปี ในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
6.การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในเวปไซด์ บันทึกไม่ครบถ้วน
7.การบันทึกแผนบริหารในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
8.การจัดทำแผนการเงิน รับ จ่ายประจำมี มี และผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการ
9.การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุน ประเภท 10(4) มีและถูกต้องสมบูรณ์
10.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) ทั้ง สองโครงการมีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ
11.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน แแต่ไม่มีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ มีครบถ้วนตามตัวชี้วัดจำนวน 1 โครงการ
12.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ จำนวน 2 โครงการ
13.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(5) มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ จำนวน 1 โครงการ
14.กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด - 19 ถูกต้องสมบูรณ์ จำนวน 1 โครงการ
15.กองทุนมีการดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุนถูกต้อง
16.การจัดทำบัญชี การเงินกองทุน ถูกต้อง
17.จำนวนเงินคงเหลือในระะบบกับบัญชีธนาคารตรงกัน
18.มีการรายงานการเงินรายเดือน รายไตรมาส และรายปี โดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติถูกต้อง
19.ประสิทธิภาพการเบิกกจ่ายและบริหารกองทุน มีหน่วยงานที่รับทุนหลากหลาย มีเงินคงเหลือในปี 2563 ไม่เกิน ร้อยละ 30 และมีการติดตามผลการดำเนินงาน
20.กองทุนมีการดำเนินงานกองทุน LTC
21.กองทุนมีคำสั้งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC ถูกต้องครบถ้วนตามองค์ประกอบ มีการประชุม 2 ครั้ง
22.โอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC คือ ศูนย์พัฒนาคุณภาพผู้สูงอายุ
23.หน่วยจัดบริการไม่มีการรายงานผลการจัดบริการ

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ LTC กองทุน อบต.เขาปู่โดย นางสาวธมล มงคลศิลป์22 กรกฎาคม 2564
22
กรกฎาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ธมล มงคลศิลป์ Coach
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ตรวจประเมินการดำเนินการของกองทุนหลักประกันสุขภาพและ กองทุน LTC ด้วยการตรวจเอกสารและการบันทึกข้อมูลลงในเวปไซด์ของ สปสช.เขต 12 ตามตัวชี้วัดที่กำหนด

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการตรวจประเมิน ตามแบบที่กำหนด ผลที่ออกมาดังนี้
1.การออกคำสั้งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน มีคำสั่งครบองค์ประกอบ
2.การบันทึกจำนวนประชากรในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
3.การบันทึกบันที่ได้รับการจัดสรรในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
4.การบันทึกเงินสมทบจาก อปท.ในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
5.การบันทึกดอกเบี้ย 2 ครั้งต่อปี ในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
6.การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในเวปไซด์ บันทึกไม่ครบถ้วน
7.การบันทึกแผนบริหารในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
8.การจัดทำแผนการเงิน รับ จ่ายประจำมี มี และผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการ
9.การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุน ประเภท 10(4) มีและถูกต้องสมบูรณ์
10.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) ทั้ง สองโครงการมีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ
11.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน แแต่ไม่มีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ มีครบถ้วนตามตัวชี้วัด
12.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ จำนวน 2 โครงการ
13.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(5) มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ จำนวน 1 โครงการ
14.กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด - 19 ถูกต้องสมบูรณ์ จำนวน 1 โครงการ
15.กองทุนมีการดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุนถูกต้อง
16.การจัดทำบัญชี การเงินกองทุน ถูกต้อง
17.จำนวนเงินคงเหลือในระะบบกับบัญชีธนาคารตรงกัน
18.มีการรายงานการเงินรายเดือน รายไตรมาส และรายปี โดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติถูกต้อง
19.ประสิทธิภาพการเบิกกจ่ายและบริหารกองทุน มีหน่วยงานที่รับทุนหลากหลาย มีเงินคงเหลือในปี 2563 ไม่เกิน ร้อยละ 30 และมีการติดตามผลการดำเนินงาน
20.กองทุนมีการดำเนินงานกองทุน LTC
21.กองทุนมีคำสั้งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC ถูกต้องครบถ้วนตามองค์ประกอบ มีการประชุม 2 ครั้ง
22.โอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC คือ ศูนย์พัฒนาคุณภาพผู้สูงอายุ
23.หน่วยจัดบริการไม่มีการรายงานผลการจัดบริการ

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ LTC กองทุนเทศบาลตำบลแหลมโตนด โดย นายศราวุฒิ เอียดดำ22 กรกฎาคม 2564
22
กรกฎาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ธมล มงคลศิลป์ Coach
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ตรวจประเมินการดำเนินการของกองทุนหลักประกันสุขภาพและ กองทุน LTC ด้วยการตรวจเอกสารและการบันทึกข้อมูลลงในเวปไซด์ของ สปสช.เขต 12 ตามตัวชี้วัดที่กำหนด

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการตรวจประเมิน ตามแบบที่กำหนด ผลที่ออกมาดังนี้
1.การออกคำสั้งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน มีคำสั่งครบองค์ประกอบ
2.การบันทึกจำนวนประชากรในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
3.การบันทึกบันที่ได้รับการจัดสรรในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
4.การบันทึกเงินสมทบจาก อปท.ในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
5.การบันทึกดอกเบี้ย 2 ครั้งต่อปี ในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
6.การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
7.การบันทึกแผนบริหารในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
8.การจัดทำแผนการเงิน รับ จ่ายประจำมี มี และผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการ
9.การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุน ประเภท 10(4) มีและถูกต้องสมบูรณ์
10.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) ทั้ง สองโครงการมีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ
11.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ จำนวน 1 โครงการ ส่วนอีกหนึ่งโครงการ มีเพียงเอกสารการเบิกเงิน เอกสารการรรับเงิน และเอกสารรายงานผลการดำเนินงาน เท่านั้น ที่มาของปัญหากับวัตถุประสงค์ไม่สอดคล้องกัน ค่าใช้จ่ายไม่เหมาะสม
12.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ จำนวน 1 โครงการ ส่วนอีกหนึ่งโครงการ มีเพียงเอกสารการเบิกเงิน เอกสารการรรับเงิน และเอกสารรายงานผลการดำเนินงาน เท่านั้น ที่มาของปัญหากับวัตถุประสงค์ไม่สอดคล้องกัน ค่าใช้จ่ายไม่เหมาะสม
13.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(5) มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ
14.กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด - 19 ถูกต้องสมบูรณ์ จำนวน 1 โครงกการ
15.กองทุนไม่มีการดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุน
16.การจัดทำบัญชี การเงินกองทุน ถูกต้อง
17.จำนวนเงินคงเหลือในระะบบกับบัญชีธนาคารตรงกัน
18.มีการรายงานการเงินรายเดือน รายไตรมาส และรายปี โดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติถูกต้อง
19จำนวนเงินคงเหลือในระบบ และบัญชีธนาคารตรงกัน
20.ประสิทธิภาพการเบิกกจ่ายและบริหารกองทุน มีหน่วยงานที่รับทุนหลากหลาย มีเงินคงเหลือในปี 2563 ไม่เกิน ร้อยละ 30 และมีการติดตามผลการดำเนินงาน
21.กองทุนมีการดำเนินงานกองทุน LTC
22.กองทุนมีคำสั้งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC ถูกต้องครบถ้วนตามองค์ประกอบ มีการประชุม 1 ครั้ง
23.โอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC คือ ศูนย์พัฒนาคุณภาพผู้สูงอายุ
24.หน่วยจัดบริการไม่มีการรายงานผลการจัดบริการ

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ LTC กองทุนเทศบาลตำบลโตนดด้วน โดย นางอมรรัตน์ ทุ่มพุ่ม20 กรกฎาคม 2564
20
กรกฎาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย t9332
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ตรวจประเมินการดำเนินการของกองทุนหลักประกันสุขภาพและ กองทุน LTC ด้วยการตรวจเอกสารและการบันทึกข้อมูลลงในเวปไซด์ของ สปสช.เขต 12 ตามตัวชี้วัดที่กำหนด

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ LTC กองทุนเทศบาลตำบลโตนดด้วน จากการตรวจประเมิน ตามแบบที่กำหนด มีผลการดำเนินงานดังนี้ 1.การออกคำสั้งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน มีคำสั่งครบองค์ประกอบ
2.การบันทึกจำนวนประชากรในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน 3.การบันทึกบันที่ได้รับการจัดสรรในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน 4.การบันทึกเงินสมทบจาก อปท.ในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน 5.การบันทึกดอกเบี้ย 2 ครั้งต่อปี ในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน 6.การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
7.การบันทึกแผนบริหารในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน 8.การจัดทำแผนการเงิน รับ จ่ายประจำมี มี และผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการ 9.การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุน ประเภท 10(4) มีและถูกต้องสมบูรณ์ 10.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ
11.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ
12.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ
13.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(5) มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ
14.กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด - 19 ถูกต้องสมบูรณ์ จำนวน 1 โครงการ 14.กองทุนไม่มีการดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุน
15.การจัดทำบัญขี การเงินกองทุน ถูกต้อง
16.จำนวนเงินคงเหลือในระะบบกับบัญชีธนาคารตรงกัน
17.มีการรายงานการเงินรายเดือน รายไตรมาส และรายปี โดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติถูกต้อง
18จำนวนเงินคงเหลือในระบบ และบัญชีธนาคารตรงกัน
19.ประสิทธิภาพการเบิกกจ่ายและบริหารกองทุน มีหน่วยงานที่รับทุนหลากหลาย มีเงินคงเหลือในปี 2563 ไม่เกิน ร้อยละ 30 และมีการติดตามผลการดำเนินงาน 20.กองทุนมีการดำเนินงานกองทุน LTC 21.กองทุนมีคำสั้งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC ถูกต้องครบถ้วนตามองค์ประกอบ มีการประชุม 1 ครั้ง 22.โอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC คือ ศูนย์พัฒนาคุณภาพผู้สูงอายุ
23.หน่วยจัดบริการมีการรายงานผลการจัดบริการ

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ LTC กองทุน อบต.เขาชัยสน โดย นายณัฐพงศ์ คงสง15 กรกฎาคม 2564
15
กรกฎาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐพงศ์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและกองทุน LCT  ของ อ.บ.ต.เขาชัยสน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงเยี่ยมติดตามตามตัวชี้วัดดังนี้ 1.มีคำสั่ง อปท.แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LCT เมื่อปี 2557 2.คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 คำสั่งเพิ่มเติมและเปลี่ยนแปลง มีการเพิ่มเติมเปลี่ยนแปลงคำสั่งถูกต้องตามตัวประกาศ 3.การป้อนจำนวนประชากร เพื่อรับการจัดสรรเงินและสมทบเงินเข้ากองทุน มีการแจ้งประชากรอย่างถูกต้อง เรียบร้อย มีการสมทบเงินในวันที่ 4 มกราคม 2564
4.การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลแผนมีความสมบูรณ์ และสถานการณ์ของแผน ที่ค่อนข้างสมบูรณ์ 5.การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่าย ประจำปี มีการจัดทำแผน ดำเนินการทำแผนนำเข้าที่ประชุมคณะกรรมการอนุมัติก่อนที่จะเบิกจ่ายเงิน ผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการ 6.โครงการบริหารจัดการกองทุน มีโครงการ แต่ในส่วนของกองทุนตำบลและLTCไม่ถึง 20% มีการประชุมอย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง ปัจจุบันมีการเบิกจ่ายค่าตอบแทนให้กับคณะกรรมการและเจ้าหน้าที่ถูกต้องเรียบร้อย ไม่มีการจัดซื้อครุภัณฑ์เป็นไปตามระเบียบของ อปท. 7.โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 1-5 มีการดำเนินโครงการในปี 2563 เกือบทุกประเภท มีลักษณะโครงการที่ได้นำปัญหาที่แท้จริงมาทำโครงการลักษณะของโครงการที่ตอบปัญหาของพื้นที่มากพอสมควร ได้แนะนำให้นำปัญหาที่แท้จริงมาจัดทำโครงการเพื่อสามารถที่จะแก้ปัญหาได้ตรงจุดมากยิ่งขึ้น มีการรายงานผลเป็นปัจจุบัน เรียบร้อยดี 8.โครงการแก้ปัญหาโควิด -19 ได้ดำเนินการมีการอนุมัติโครงการตามระเบียบ มีเอกสารการรายงานผลมีการออกใบเสร็จรับเงินอย่างถูกต้อง 9.บัญชี-การเงินกองทุน ดูจากระบบเงินคงเหลือกับบัญชีตรงกัน 96597.59 ได้นำเสนอให้กับคณะกรรมการในการประชุมทุกครั้ง มีการพิมพ์จากระบบและให้คณะกรรมการอนุมัติทุกครั้ง 10.มีเงินเหลือ ไม่ถึง 30% มีหนังสือแจ้งติดตามโครงการที่ไม่ส่งรายงาน 11.มีการออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการและอนุกรรม LCT แต่งตั้งครบองค์ประกอบ 12. มีการประชุมคณะอนุกรรมการ LCT อย่างน้อย 2 ครั้ง/ปีมีการเบิกจ่ายเงินให้กรรมการในงบบริหารจัดการกองทุน 13. มีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LCT (ผ่านศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ มีเอกสารประกอบถูกต้อง) 14.การใช้จ่ายเงินของหน่วยจัดบริการ มีการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG มีการจัดซื้อวัสดุตามแคร์แปลนที่ผ่านการอนุมัติ

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ LTC กองทุน อบต.ควนมะพร้าว โดย นางกชกานต์ คงชู15 กรกฎาคม 2564
15
กรกฎาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย t9332
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ตรวจประเมินการดำเนินการของกองทุนหลักประกันสุขภาพและ กองทุน LTC ด้วยการตรวจเอกสารและการบันทึกข้อมูลลงในเวปไซด์ของ สปสช.เขต 12 ตามตัวชี้วัดที่กำหนด

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ตรวจประเมินการดำเนินการของกองทุนหลักประกันสุขภาพและ กองทุน LTC ด้วยการตรวจเอกสารและการบันทึกข้อมูลลงในเวปไซด์ของ สปสช.เขต 12 ตามตัวชี้วัดที่กำหนดแบบที่กำหนด ผลที่ออกมาดังนี้
1.การออกคำสั้งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน มีคำสั่งครบองค์ประกอบ
2.การบันทึกจำนวนประชากรในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน 3)บันทึกครบถ้วน
3.การบันทึกวันที่ได้รับการจัดสรรในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
4.การบันทึกเงินสมทบจาก อปท.ในเวปไซด์ (สมทบวันที่ 25 ธันวาคม 256จากการตรวจประเมิน ตาม 5.การบันทึกดอกเบี้ย 2 ครั้งต่อปี ในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
6.การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วนทุกแผนงาน 7.การบันทึกแผนบริหารในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
8.การบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่ในแวปไชด์ มีเฉพาะเปิดแผนงานแต่ละแผน แต่ขาดประเด็นสถานการณ์ในแผนทุกแผนงาน ไม่ได้ลงบันทึก
8.การจัดทำแผนการเงิน รับ - จ่ายประจำปี มี และผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการ
9.การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุน ประเภท 10(4) มีและถูกต้องสมบูรณ์
7.1.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) ชื่อโครงการเฝ้าระวังน้ำตาลในเลือดของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน
-มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินถูกต้อง และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ
7.2. โครงการหยุดบุหรี่ หยุดโรค Stop smoke
- มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายไม่ถูกต้อง (ผู้จ่ายเงินยังไม่ได้เซ็นต์ชื่อจ่ายเงิน ผู้รับเซ็นรับเรียบร้อย) เอกสารรับเงินถูกต้อง และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ
7.3.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) โครงการอาหารปลอดภัยในโรงเรียน - มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ
7.4 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) โครงการช่วยเด็กไทยพ้นภัยอ้วนเตี้ย -มีที่มาของปัญหา ขาดสถานการณ์ของปัญหา วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ
7.5การจัดทำโครงการ.ด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) โครงการประกวดหนูน้อยฟันสวย -มีที่มาของปัญหา ข้อมูลสถานการณ์ของปัญหาไม่มี วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ
7.6 การจัดทำโครงการ.ด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) โครงการฝึกช่วยชีวิตเบื้องต้น -มีที่มาของปัญหา ข้อมูลสถานการณ์ของปัญหาไม่มี วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ
7.7.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(5) โครงการเผชิญการระบาดโควิค19 มี จำนวน 1 โครงการ -มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ
8.กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด - 19 ถูกต้องสมบูรณ์ จำนวน 1 โครงการ 8.1กองทุนมีการดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุน ถูกต้องสมบูรณ์ จำนวน 1 โครงการ มีการจัดทำเอกสาร โครงการ TOR ใบเบิกเงิน ใบสำคัญรับเงิน เสนอต่อประธานคณะกรรมการกองทุน ออกจากระบบถูกต้องครบถ้วน 9.การจัดทำบัญขี การเงินกองทุน ถูกต้อง
-จำนวนเงินคงเหลือในระะบบกับบัญชีธนาคารตรงกัน เป็นปัจจุบัน -มีการรายงานการเงินรายเดือน รายไตรมาส และรายปี โดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติถูกต้อง
-จำนวนเงินคงเหลือในระบบ และบัญชีธนาคารตรงกัน 10.ประสิทธิภาพการเบิกกจ่ายและบริหารกองทุน มีหน่วยงานที่รับทุนหลากหลาย มีเงินคงเหลือในปี 2563 ไม่เกิน ร้อยละ 30 และมีการติดตามผลการดำเนินงาน (มีการขยายโครงการในปี 2563 จำนวน 5โครงการ) 11.กองทุนมีการดำเนินงานกองทุน LTC
11.1กองทุนมีคำสั้งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC ถูกต้องครบถ้วนตามองค์ประกอบ แต่มีการประชุม 2 ครั้ง
11.2.การโอนเงินมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC คือ ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ และศูนย์ฯทำการจัดซื้อของให้ CG นำไปให้ผู้ป่วยตาม CP 11.3.หน่วยจัดบริการมีการรายงานผลการจัดบริการให้กับผู้ป่วยตาม CP

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ LTC กองทุนเทศบาลตำบลนาท่อม โดย นางสาวธมล มงคลศิลป์15 กรกฎาคม 2564
15
กรกฎาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ธมล มงคลศิลป์ Coach
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ตรวจประเมินการดำเนินการของกองทุนหลักประกันสุขภาพและ กองทุน LTC ด้วยการตรวจเอกสารและการบันทึกข้อมูลลงในเวปไซด์ของ สปสช.เขต 12 ตามตัวชี้วัดที่กำหนด

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการตรวจประเมิน ตามแบบที่กำหนด ผลที่ออกมาดังนี้
1.การออกคำสั้งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน มีคำสั่งครบองค์ประกอบ
2.การบันทึกจำนวนประชากรในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน 3.การบันทึกบันที่ได้รับการจัดสรรในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน 4.การบันทึกเงินสมทบจาก อปท.ในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน 5.การบันทึกดอกเบี้ย 2 ครั้งต่อปี ในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน 6.การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
7.การบันทึกแผนบริหารในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน 8.การจัดทำแผนการเงิน รับ จ่ายประจำมี มี และผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการ 9.การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุน ประเภท 10(4) มีและถูกต้องสมบูรณ์ 10.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ
11.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ
12.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ
13.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(5) มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ
14.กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด - 19 ถูกต้องสมบูรณ์ จำนวน 1 โครงการ 14.กองทุนไม่มีการดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุน
15.การจัดทำบัญขี การเงินกองทุน ถูกต้อง
16.จำนวนเงินคงเหลือในระะบบกับบัญชีธนาคารตรงกัน
17.มีการรายงานการเงินรายเดือน รายไตรมาส และรายปี โดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติถูกต้อง
18จำนวนเงินคงเหลือในระบบ และบัญชีธนาคารตรงกัน
19.ประสิทธิภาพการเบิกกจ่ายและบริหารกองทุน มีหน่วยงานที่รับทุนหลากหลาย มีเงินคงเหลือในปี 2563 ไม่เกิน ร้อยละ 30 และมีการติดตามผลการดำเนินงาน 20.กองทุนมีการดำเนินงานกองทุน LTC 21.กองทุนมีคำสั้งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC ถูกต้องครบถ้วนตามองค์ประกอบ มีการประชุม 1 ครั้ง 22.โอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC คือ ศูนย์พัฒนาคุณภาพผู้สูงอายุ
23.หน่วยจัดบริการมีการรายงานผลการจัดบริการ

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ LTC กองทุนเทศบาลตำบลชุมพล โดย นางมธุภานี เจ้ยชุม15 กรกฎาคม 2564
15
กรกฎาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ธมล มงคลศิลป์ Coach
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ตรวจประเมินการดำเนินการของกองทุนหลักประกันสุขภาพและ กองทุน LTC ด้วยการตรวจเอกสารและการบันทึกข้อมูลลงในเวปไซด์ของ สปสช.เขต 12 ตามตัวชี้วัดที่กำหนด

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการตรวจประเมิน ตามแบบที่กำหนด ผลที่ออกมาดังนี้
1.การออกคำสั้งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน มีคำสั่งครบองค์ประกอบ
2.การบันทึกจำนวนประชากรในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
3.การบันทึกบันที่ได้รับการจัดสรรในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
4.การบันทึกเงินสมทบจาก อปท.ในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
5.การบันทึกดอกเบี้ย 2 ครั้งต่อปี  ในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
6.การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน 7.การบันทึกแผนบริหารในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
8.การจัดทำแผนการเงิน รับ จ่ายประจำมี มี และผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการ
9.การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุน ประเภท 10(4) มีและถูกต้องสมบูรณ์
10.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ
11.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ
12.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ
13.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(5) มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ
13.กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด - 19 ถูกต้องสมบูรณ์  จำนวน 1 โครงการ 14.กองทุนไม่มีการดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุน
15.การจัดทำบัญขี การเงินกองทุน ถูกต้อง
16.จำนวนเงินคงเหลือในระะบบกับบัญชีธนาคารตรงกัน 17.มีการรายงานการเงินรายเดือน รายไตรมาส และรายปี โดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติถูกต้อง
18.จำนวนเงินคงเหลือในระบบ และบัญชีธนาคารตรงกัน 19.ประสิทธิภาพการเบิกกจ่ายและบริหารกองทุน  มีหน่วยงานที่รับทุนหลากหลาย  มีเงินคงเหลือในปี 2563 ไม่เกิน ร้อยละ 30 และมีการติดตามผลการดำเนินงาน
20.กองทุนมีการดำเนินงานกองทุน LTC
21.กองทุนมีคำสั้งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC ถูกต้องครบถ้วนตามองค์ประกอบ มีการประชุม 2 ครั้ง
22.โอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC คือ รพ.สต. 23.หน่วยจัดบริการมีการรายงานผลการจัดบริการ

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ LTC กองทุนเทศบาลตำบลบ้านนา โดย นายสมนึก นุ่นด้วง15 กรกฎาคม 2564
15
กรกฎาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ธมล มงคลศิลป์ Coach
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ตรวจประเมินการดำเนินการของกองทุนหลักประกันสุขภาพและ กองทุน LTC ด้วยการตรวจเอกสารและการบันทึกข้อมูลลงในเวปไซด์ของ สปสช.เขต 12 ตามตัวชี้วัดที่กำหนด

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการตรวจประเมิน ตามแบบที่กำหนด ผลที่ออกมาดังนี้
1.การออกคำสั้งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน มีคำสั่งครบองค์ประกอบ
2.การบันทึกจำนวนประชากรในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
3.การบันทึกบันที่ได้รับการจัดสรรในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
4.การบันทึกเงินสมทบจาก อปท.ในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
5.การบันทึกดอกเบี้ย 2 ครั้งต่อปี ในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
6.การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน 7.การบันทึกแผนบริหารในเวปไซด์ บันทึกครบถ้วน
8.การจัดทำแผนการเงิน รับ จ่ายประจำมี มี และผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการ
9.การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุน ประเภท 10(4) มีและถูกต้องสมบูรณ์
10.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ
11.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ
12.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ
13.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(5) มีที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอสบคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน และมีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุนฯ
13.กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด - 19 ถูกต้องสมบูรณ์  จำนวน 1 โครงการ 14.กองทุนมีการดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุน ถูกต้องสมบูรณ์  จำนวน 1 โครงการ
15.การจัดทำบัญขี การเงินกองทุน ถูกต้อง
16.จำนวนเงินคงเหลือในระะบบกับบัญชีธนาคารตรงกัน 17.มีการรายงานการเงินรายเดือน รายไตรมาส และรายปี โดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติถูกต้อง
18.จำนวนเงินคงเหลือในระบบ และบัญชีธนาคารตรงกัน 19.ประสิทธิภาพการเบิกกจ่ายและบริหารกองทุน  มีหน่วยงานที่รับทุนหลากหลาย มีเงินคงเหลือในปี 2563 ไม่เกิน ร้อยละ 30 และมีการติดตามผลการดำเนินงาน
20.กองทุนมีการดำเนินงานกองทุน LTC
21.กองทุนมีคำสั้งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC ถูกต้องครบถ้วนตามองค์ประกอบ แต่มีการประชุมเพียง 1 ครั้ง
22.โอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC คือ ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 23.หน่วยจัดบริการไม่มีการรายงานผลการจัดบริการ

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุน ทต.ควนขนุน โดย นายสมนึก นุ่นด้วง7 กรกฎาคม 2564
7
กรกฎาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย สมนึก
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

การประเมินผลการดำเนินงาน บทเรียนความสำเร็จ  ปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานกองทุน ตำบล และกองทุน LTC

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การทำแผนงานโครงการ
  - การทำแผนงานมีภาคีร่วมให้ข้อมูล
  - มีแผนงานครอบคลุม 16 แผนงาน มี 5 แผนงานหลัก มีโครงการตอบสนอง 5 แผนงานหลัก
การรับจ่ายเงิน   - เทศบาลยังไม่สมทบเงินเข้ากองทุน สาเหตุจากขาดสภาพคล่องทางการเงิน   - การจ่ายเงิน ร้อยละ 90.58

ปัญหาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะ 1. การอนุมัติแผนงานโครงการล่าช้า (มีนาคม 2564 ) สมควรมีการวางแผนการประชุมคณะกรรมการอย่างน้อย 3 ครั้ง
      1.1 ประชุมครั้งที่ 1 ต้นปีงบประมาณ เพื่อพิจารณารับรองผลการดำเนินงาน/รายงานการเงิน และพิจารณาอนุมัติแผนงานกองทุน (แผนเงิน)       1.2 ประชุมครั้งที่ 2 เพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการ
      1.3 ประชุมครั้งที่ 3 เพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการ และติดตามความก้าวหน้าโครงการ

2. กองทุนจะต้องสนับสนุนให้มีการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการให้รู้และเข้าใจบทบาทหน้าที่ จนสามารถวางแผน หรือพิจารณาปรับแผนให้มีคุณภาพ สอดคล้องกับการกำหนดทิศทางสุขภาพในท้องถิ่นนั้น และสามารถเห็นความเชื่อมโยงของโครงการกับแผนงาน และแผนงานกับข้อมูลสุขภาพ

  1. กองทุนจะต้องมีแผนพัฒนาผู้รับทุนอย่างต่อเนื่องทุกปี เพื่อสนับสนุนการเปลี่ยนผ่านของการเขียนโครงการแบบเดิมที่เคยชิน เป็นการเขียนโครงการที่มีคุณภาพตามนโยบาย สปสช.เขต 12

  2. กองทุนจะต้องมีการสรุปผลการดำเนินงานทุกปี เพื่อเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการดำเนินงานตามโครงการ นำข้อมูลไปเปลี่ยนแปลงขนาดปัญหา และกำหนดเป้าหมายในปีถัดไป

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่2 ของ กองทุน อบต.ป่าพะยอม นางสาวธมล มงคลศิลป์24 พฤษภาคม 2564
24
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ธมล มงคลศิลป์ Coach
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-ประสานงานกับผู้รับผิดชอบงานกองทุนสุขภาพตำบล ของ อบต.ป่าพะยอม เพื่อแจ้ง จนท.ผู้รับผิดชอบงานและผู้เกี่ยวข้องทราบ - ติดต่อสถานที่ประชุม การเยี่ยม ติดตาม นิเทศกองทุน 1. ติดตามทำแผนการเงินปีงบประมาณ 2564 2. สร้างความเข้าใจการทำแผนงาน/โครงการ /โครงการกองทุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต
คณะกรรมการ เจ้าหน้าที่กองทุน และผู้รับทุนได้เข้าร่วมเรียนรู้ จำนวน 12 คน
ผลลัพธ์
คณะกรรมการกองทุน ให้ความสนใจในการผลักดันให้เกิดแผนงาน และโครงการที่มีคุณภาพ และขับเคลื่อนการจัดการโดยใช้เว็บกองทุนตามลำดับ

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่2 ของ กองทุน ทต.แพรกหา โดย นางมธุภานี เจ้ยชุม24 พฤษภาคม 2564
24
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ธมล มงคลศิลป์ Coach
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-ประสานงานกับผู้รับผิดชอบงานกองทุนสุขภาพตำบล ของ ทต.แพรกหา เพื่อแจ้ง จนท.ผู้รับผิดชอบงานและผู้เกี่ยวข้องทราบ - ติดต่อสถานที่ประชุม การเยี่ยม ติดตาม นิเทศกองทุน
1. ติดตามทำแผนการเงินปีงบประมาณ 2564
2. สร้างความเข้าใจการทำแผนงาน/โครงการ /โครงการกองทุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต
คณะกรรมการ เจ้าหน้าที่กองทุน และผู้รับทุนได้เข้าร่วมเรียนรู้ จำนวน 13 คน
ผลลัพธ์
คณะกรรมการกองทุน ให้ความสนใจในการผลักดันให้เกิดแผนงาน และโครงการที่มีคุณภาพ และขับเคลื่อนการจัดการโดยใช้เว็บกองทุนตามลำดับ

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่1 ของ กองทุน ทต.เขาเจียก โดย นางกชกานต์ คงชู24 พฤษภาคม 2564
24
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ธมล มงคลศิลป์ Coach
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-ประสานงานกับผู้รับผิดชอบงานกองทุนสุขภาพตำบล ของ ทต.เขาเจียก เพื่อแจ้ง จนท.ผู้รับผิดชอบงานและผู้เกี่ยวข้องทราบ - ติดต่อสถานที่ประชุม การเยี่ยม ติดตาม นิเทศกองทุน 1. ติดตามการทำแผนการเงินปีงบประมาณ 2564 2. สร้างความเข้าใจการทำแผนงาน/โครงการ /โครงการกองทุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต
คณะกรรมการ เจ้าหน้าที่กองทุน และผู้รับทุนได้เข้าร่วมเรียนรู้ จำนวน 14 คน
ผลลัพธ์
คณะกรรมการกองทุน ให้ความสนใจในการผลักดันให้เกิดแผนงาน และโครงการที่มีคุณภาพ และขับเคลื่อนการจัดการโดยใช้เว็บกองทุนตามลำดับ

สนับสนุนการเขียนโครงการ / การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 ของกองทุน อบต.เกาะเต่า โดย นายศราวุฒิ เอียดดำ24 พฤษภาคม 2564
24
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ธมล มงคลศิลป์ Coach
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-ประสานงานกับผู้รับผิดชอบงานกองทุนสุขภาพตำบล ของ อบต.เกาะเต่า เพื่อแจ้ง จนท.ผู้รับผิดชอบงานและผู้เกี่ยวข้องทราบ - ติดต่อสถานที่ประชุม การเยี่ยม ติดตาม นิเทศกองทุน 1. ทำแผนการเงินปีงบประมาณ 2564 2. สร้างความเข้าใจการทำแผนงาน/โครงการ /โครงการกองทุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต
คณะกรรมการ เจ้าหน้าที่กองทุน และผู้รับทุนได้เข้าร่วมเรียนรู้ จำนวน 21 คน
ผลลัพธ์
คณะกรรมการกองทุน ให้ความสนใจในการผลักดันให้เกิดแผนงาน และโครงการที่มีคุณภาพ และขับเคลื่อนการจัดการโดยใช้เว็บกองทุนตามลำดับ

สนับสนุนการเขียนโครงการ / การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 ของกองทุน ทต.หนองพ้อ โดย นางกาญจนา ผอมดำ24 พฤษภาคม 2564
24
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ธมล มงคลศิลป์ Coach
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-ประสานงานกับผู้รับผิดชอบงานกองทุนสุขภาพตำบล ของ ทต.หนองพ้อ เพื่อแจ้ง จนท.ผู้รับผิดชอบงานและผู้เกี่ยวข้องทราบ - ติดต่อสถานที่ประชุม การเยี่ยม ติดตาม นิเทศกองทุน 1. ทำแผนการเงินปีงบประมาณ 2564 2. สร้างความเข้าใจการทำแผนงาน/โครงการ /โครงการกองทุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต
คณะกรรมการ เจ้าหน้าที่กองทุน และผู้รับทุนได้เข้าร่วมเรียนรู้ จำนวน 11 คน
ผลลัพธ์
คณะกรรมการกองทุน ให้ความสนใจในการผลักดันให้เกิดแผนงาน และโครงการที่มีคุณภาพ และขับเคลื่อนการจัดการโดยใช้เว็บกองทุนตามลำดับ

สนับสนุนการจัดทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพ และแผนการเงิน ของกองทุน เทศบาลตำบลอ่าวพะยูร โดย นายกำพล เศรษฐสุข24 พฤษภาคม 2564
24
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย กำพล เศรษฐสุข
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-ประสานงานกับผู้รับผิดชอบงานกองทุนสุขภาพตำบล ของ ทต.อ่าวพะยูน อปท.เพื่อแจ้ง จนท.ผู้รับผิดชอบงานและผู้เกี่ยวข้องทราบ - ติดต่อสถานที่ประชุม การเยี่ยม ติดตาม นิเทศกองทุน 1. ทำแผนการเงินปีงบประมาณ 2564 2. สร้างความเข้าใจการทำแผนงาน/โครงการ /โครงการกองทุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต
คณะกรรมการ เจ้าหน้าที่กองทุน และผู้รับทุนได้เข้าร่วมเรียนรู้ จำนวน 17 คน
ผลลัพธ์
คณะกรรมการกองทุน ให้ความสนใจในการผลักดันให้เกิดแผนงาน และโครงการที่มีคุณภาพ และขับเคลื่อนการจัดการโดยใช้เว็บกองทุนตามลำดับ

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่1 ของ กองทุน ทต.นาโหนด โดย นางกชกานต์ คงชู24 พฤษภาคม 2564
24
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ธมล มงคลศิลป์ Coach
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

แนะนำการลงระบบออนไลน์ ฝึกการเขียนโครงการให้หน่วยขอรับงบปะมาณกองทุน ออกรหัสให้หน่วยขอรับทุน ได้ดำเนินการผ่านระบบ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีผู้เข้าร่วมประชุม 15 คน ประกอบด้วย จนท.จาก รพ.สต. โรงเรียน กลุ่มอาชีพ ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จนท.จาก  ทต.นาโหนด 2.ผู้เข้าอบรมได้ฝึกการเขียนโครงการพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ โดยมีโครงการแก้ไขตามปัญหาของแต่ละกลุ่ม ได้ถูกต้อง 3.ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้เรียนรู้การลงกิจกรรมในเวปไซต์กองทุนสุขภาพตำบล ได้ถูกต้อง

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่2 ของ กองทุน ทต.นาโหนด โดย นางกชกานต์ คงชู24 พฤษภาคม 2564
24
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ธมล มงคลศิลป์ Coach
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ดิดตามการเขียนโครงการเเละการพัฒนาโครงการเเบบออนไลน์ ให้ความรู้เพิ่มเติมเเนวทางในการเขียนให้ตรงกับวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพเเห่งชาติ แก่เลขานุการกองทุน และเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุน และผู้เกี่ยวข้อง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เลขานุการกองทุน ฯ เจ้าหน้าที่กองทุน ฯ และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง มีความรู้ ความเข้าใจวิธีการพัฒนาโครงการผ่านระบบของกองทุนหลักประกันสุขภาพ
2.เลขานุการกองทุน ฯ เจ้าหน้าที่กองทุน ฯ และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง เข้าใจหลักการพิจารณาโครงการที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุน ฯ

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่2 ของ กองทุน ทต.เขาเจียก โดย นางกชกานต์ คงชู20 พฤษภาคม 2564
20
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ธมล มงคลศิลป์ Coach
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ดิดตามการเขียนโครงการเเละการพัฒนาโครงการเเบบออนไลน์ ให้ความรู้เพิ่มเติมเเนวทางในการเขียนให้ตรงกับวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพเเห่งชาติ แก่เลขานุการกองทุน และเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุน และผู้เกี่ยวข้อง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เลขานุการกองทุน ฯ เจ้าหน้าที่กองทุน ฯ และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง มีความรู้ ความเข้าใจวิธีการพัฒนาโครงการผ่านระบบของกองทุนหลักประกันสุขภาพ
2.เลขานุการกองทุน ฯ เจ้าหน้าที่กองทุน ฯ และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง เข้าใจหลักการพิจารณาโครงการที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุน ฯ

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่1 ของ กองทุน ทต.ทะเลน้อย โดย นางสาวปรียาภรณ์ คงผอม19 พฤษภาคม 2564
19
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ธมล มงคลศิลป์ Coach
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

แนะนำการลงระบบออนไลน์ ฝึกการเขียนโครงการให้หน่วยขอรับงบปะมาณกองทุน ออกรหัสให้หน่วยขอรับทุน ได้ดำเนินการผ่านระบบ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีผู้เข้าร่วมประชุม 35 คน ประกอบด้วย จนท.จาก รพ.สต. โรงเรียน กลุ่มอาชีพ ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จนท.จาก  ทต.ทะเลน้อย 2.ผู้เข้าอบรมได้ฝึกการเขียนโครงการพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ โดยมีโครงการแก้ไขตามปัญหาของแต่ละศูนย์ ได้ถูกต้อง 3.ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้เรียนรู้การลงกิจกรรมในเวปไซต์กองทุนสุขภาพตำบล ได้ถูกต้อง

สนับสนุนการเขียนโครงการ / การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 ของกองทุน ทต.หานโพธิ์ โดย นายประเทือง อมรวิริยะชัย12 พฤษภาคม 2564
12
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย เทือง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ขั้นตอนการประสานงาน จนท.จาก อบต.หานโพธิ์ เป็นผู้ประสานงานผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด 2.เริ่มประชุมเวลา 13.30 น. ณ ห้องประชุม อบต.หานโพธิ์ -จนท.จาก อบต.หานโพธิ์ กล่าวต้อนรับ -พี่เลี้ยงนายประเทือง อมรวิริยะชัย แนะนำตัว และผู้เข้าร่วมประชุม แนะนำตัวเอง -พี่เลี้ยงบรรยายการพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ในส่วนของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 2 ศูนย์ -พี่เลี้ยงได้แนะนำเพิ่มในการรายงานกิจกรรมบนเวปไซต์กองทุน ในส่วนของโครงการที่ได้รับการอนุมัติแล้ว -ซักถาม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีผู้เข้าร่วมประชุม 8 คน ประกอบด้วย จนท.จาก รพ.สต. 3 คน ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 4 คน จนท.จาก อบต.หานโพธิ์ จำนวน 1 คน
2.ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้ฝึกการเขียนโครงการพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ โดยมีโครงการแก้ไขตามปัญหาของแต่ละศูนย์ ได้ถูกต้อง 3.ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้เรียนรู้การลงกิจกรรมในเวปไซต์กองทุนสุขภาพตำบล ได้ถูกต้อง

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่2 ของกองทุน ทต.บางแก้ว โดย พ.จ.อ.หญิงอมรรัตน์ ทวีตา19 เมษายน 2564
19
เมษายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย อมรรัตน์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ลงติดตามและชี้แจงแนวทางการลงระบบผ่านเว็บไซต์ เพื่อจัดการบริหารกองทุน สร้างความเข้าใจให้คณะกรรมการกองทุนแลพผู้ที่เกี่ยวข้องของกองทุนได้ดำเนินการผ่านระบบเว็บไซต์อย่างถูกต้องได้้มีการแนะนำการคีย์ข้อมูลเรื่องของแผนการขับเคลื่อนเพื่อลดปัจจัยเกี่ยวกับสุขภาพ 5 แผนหลัก ตามแนวทางการดำเนินงานของเขต 12 แผนงานเหล้า แผนงานบุหรี่ แผนงานยาเสพติด แผนงานอาหารปลอดภัย แผนงานกิจกรรมทางกาย ซึ่งมีการแนะนำการคีย์ข้อมูล ตั้งแต่ต้น การแนะนำวิธีการเข้าไปคีย์ข้อมูล แนะนำการออกรหัสให้หน่วยงานการ ขอรับงบประมาณ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 20 คนได่แก่เจ้าหน้าที่กองทุน และผุ้ขอรับงบประมาณ ผลที่ได้รับคือ ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถคีย์ข้อมูลผ่านระบบได้ตามแนวทางการบริหารจัดการกองทุนอย่างถูกวิธีและถูกต้อง ซึ่งมีหน่วยขอรับงบประมาณสามารถคีย์ข้อมูลผ่านระบบเพื่อพัฒนาโครงการผ่านระบบได้

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่2 ของ กองทุน ทต.เขาหัวช้าง โดย นางวาลัยพร ด้วงคง19 เมษายน 2564
19
เมษายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย วาลัยพร ด้วงคง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ลงติดตามและชี้แจงแนวทางการลงระบบผ่านเว็ปไซต์เพื่อจัดการกองทุน ได้ทำความเข้าใจให้คณะกรรมการกองทุนและผู้ที่เกี่ยวข้องของกองทุนได้ดำเนินการผ่านระบบเว็ปไซด์ได้อย่างถูกต้อง  โดยมีการแนะนำการคีย์ข้อมูลเรื่องของแผนขับเคลื่อนเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ  5  แผนงานหลัก  ตามแนวทางการดำเนินงานของเขต  12  ได้  แก่  แผนงานเหล้า  แผนงานบุหรี่  แแผนสารเสพติด  แผนงานอาหารปลอดภัย  แผนงานกิจกรรมทางกาย  ซึ่งได้มีการแนะนำการคีย์ข้อมูลตั้งต้นเริ่มตั้งแต่การแนะนำการตั้งรหัสให้หน่วยขอรับงบประมาณ  จนถึงการพัฒนาโครงการผ่านระบบ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน  20  คน  ได้แก่เจ้าหน้าที่กองทุน  คณะกรรมการกองทุน  และผู้ขอรับงบประมาณ ผลที่ได้รับ  คือผู้เข้าร่วมโครงการได้มีความรู้ความเข้าใจในการคีย์ข้อมูลผ่านระบบเว็ปของกองทุนได้  มีการออกรหัสให้หน่วยขอรับงบประมาณ  สามารถพัฒนาโครงการบนระบบเว็ปของกองทุนได้

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่2 ของกองทุน ทต.ตะโหมดโดย นางวาลัยพร ด้วงคง19 เมษายน 2564
19
เมษายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย วาลัยพร ด้วงคง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ลงติดตามและชี้แจงแนวทางการลงระบบผ่านเว็ปไซตฺเพื่อจัดการบริหารกองทุน    ได้ทำความเข้าใจให้คณะกรรมการกองทุนและผู้เกี่ยวข้องของกองทุนได้  ดำเนินการผ่านระบบเว็ปไซด์ได้อย่างุถูกต้อง  โดยมีการแนะนำการคีย์ข้อมูลเรื่องของแผนขับเคลื่อนเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ  5  แผนงานหลัก  ตามแนวการดำเนินงานของเขต  12    ได้แก่  แผนงานเหล้า  แผนงานบุหรี่  แผนสารเสพติด  แผนงานอาหารปลอดภัย  แผนงานกิจกรรมทางกาย  ซึ่งมีการแนะนำการคีย์ข้อมูลตั้งแต่ต้น  เริ่มตั้งแต่การแนะการวิธีการเข้าไปคีย์ข้อมูล  แนะนำการออกรหัสให้หน่วยขอรับงบประมาณ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน  20  คน  ได้แก่เจ้าหน้าที่กองทุน  คณะกรรมการกองทุน  และผู้ขอรับงบประมาณ    ผลที่ได้รับ คือ  ผู้เข้าร่วมโครงการ  ได้มีความรู้  ความเข้าใจ สามารถคีย์ข้อมูลผ่านระบบได้ตามแนวทางการบริหารจัดการกองทุนได้อย่างถูกต้อง    ซึ่ง  มีหน่วยขอรับงบประมาณ  สามารถคีย์ข้อมูลผ่านระบบเพื่อพัฒนาโครงการผ่านระบบได้

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่2 ของ กองทุน ทต.หารเทาโดย นายเสงี่ยม ศรีทวี19 เมษายน 2564
19
เมษายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย นายเสงี่ยม ศรีทวี
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ร่วมประชุมกับคณะกรรมการกองทุน และผู้เสนอขอรับงบประมาณตามโครงการ ให้คำปรึกษาการเขียนโครงการ ที่ตอบสนองตัวชี้วัดของกองทุน และแก้ปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ แนะนำการบันทึกโครงการ การจัดทำรายงานผลโครงการ แนะนำการติดตามและประเมินผลโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ ความเข้าในเพิ่มมากขึ้น กองทุนมีแผนงานโครงการ ตรงกับปัญหาในพื้นที่ และตัวชีวัดของกองทุน การเบิกจ่ายเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่1 ของกองทุน ทต.หารเทา โดย นายเสงี่ยม ศรีทวี19 เมษายน 2564
19
เมษายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย นายเสงี่ยม ศรีทวี
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ร่วมประชุมกับคณะกรรมการกองทุน
พิจารณา ตรวจสอบ โครงการ ให้ถูกต้องตามระเบียบและวัตถุประสงค์กองทุน ให้ข้อเสนอแนะ การปรับปรุง การดำเนินงานตามโครงการ แนะนำการบันทึกแผนงาน/โครงการ/ และกิจกรรม ในเวปไซต์แก่ ผู้เสนอโครงการและเจ้าหน้าที่กองทุน แนะนำการจัดทำรายงานประเมินผลโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการ และผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 20 คน มีความรู้ความเข้าใจ ที่ถูกต้องในการจัดทำแผนงานโครงการ ผู้เสนอโครงการ และเจ้าหน้าที่กองทุน สามารถบันทึกแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมในเวปไซต์ กองทุนสามารถเบิกจ่ายงบประมาณ ได้ตามแผน

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่2 ของ กองทุน อบต.นาปะขอ โดย นายณัฐพงศ์ คงสง19 เมษายน 2564
19
เมษายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐพงศ์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

อบรมเชิงปฎิบัติการพัฒนาศักยภาพในการจัดทำโครงการ แผนการเงิน แผนกองทุน ให้กับเจ้าหน้าที่กองทุน คณะกรรมการกองทุน หน่วยขอรับทุน ในวันที่ 14 มกราคม 2564 ณ ห้องประชุม รพ.สต.นาปะขอ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีผู้เข้าร่วมประชุมประมาณ 20 คน ประกอบด้วย เลขากองทุน เจ้าหน้าที่กองทุน คณะกรรมการกองทุน และหน่วยขอรับทุน ได้ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานกองทุน ประจำปี 2564 ให้กับผู้เข้าร่วมประชุมได้รับทราบ ทิศทางการดำเนินงานกองทุน มีการนำแผนกองทุน โครงการ มาศึกษาดูว่ามีครบตามนโยบายของเขต  ดูผลการเบิกจ่ายเงินของกองทุน ปัญหาอุปสรรคที่ผ่านมามีปัญหาในเรื่องอะไรบ้างเพื่อจะได้นำปัญหาต่างๆ มาแก้ไขให้หมดไป มีการแนะนำปัญาที่เกิดขึ้นนำมาวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาและสถานการณ์เรียนรู้วิธีการแก้ไขปัญหาต่างๆ

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่2 ของ กองทุน ทต.บ้านสวน โดย นางอมรรัตน์ ทุ่มพุ่ม9 เมษายน 2564
9
เมษายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย t9332
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-ประสานงานกับ อปท.เพื่อแจ้ง จนท.ผู้รับผิดชอบงานและผู้เกี่ยวข้องทราบ
- ติดต่อสถานที่ประชุม การเยี่ยม ติดตาม นิเทศกองทุน
- ได้เข้าร่วมประชุม และให้คำแนะนำแก่ คณะกรรมการกองทุน ที่ประชุม ดำเนินการประชุมดังนี้
1. ติดตามการดำเนินงานโครงการปี 2563
2. รับรองรายงานการเงิน
3. ทำแผนการเงินปีงบประมาณ 2564
4. สร้างความเข้าใจการทำแผนงาน/โครงการ /โครงการกองทุน ภายใต้หลักคิด หลักการ โดยใช้ ppt และhttps://localfund.happynetwork.org/ ดังนี้

หลักคิด
คณะกรรมการกองทุน เป็นกลไกกำหนดทิศทางสุขภาพของประชาชนในตำบล โดยมีแผนงานเป็นเครื่องมือไปสู่ทิศทาง/เป้าหมาย และมีโครงการเป็นเครื่องมือไปสู่ผลลัพธ์ตามเป้าหมาย

หลักการ
1. คณะกรรมการกองทุนจึงมีหน้าที่พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนงาน โครงการ กิจกรรม ตามประกาศกองทุนข้อ 6 (1),(2)
2. การบริหารแผนงานโครงการโดยใช้หลักการตาม Ottawa Charter ด้วย 4 คำถามดังนี้
2.1 เราอยูู่ที่ไหน หมายถึงสถานาการณ์ ณ ปัจจุบัน ในที่นี้ คือข้อมูลขนาดปัญหา ในแผนงาน และหลักการและเหตุผลในโครงการ
2.2 เราจะไปไหน หมายถึงเป้าหมายในแผนงาน และผลลัพธ์ในโครงการ
2.3 เราจะไปอย่างไร หมายถึงแนวทางสู่เป้าหมายในแผนงาน และวิธีดำเนินการในโครงการ
2.4 เราไปถึงแล้วหรือยัง หมายถึงการทบทวนแผนงาน และการประเมินผลโครงการ
3. การใช้โปรแกรมบนเว้บไซต์เพื่อการบริหารจัดการกองทุน https://localfund.happynetwork.org/ ได้สร้างวามเข้าใจในการใช้โปรแกรมบนเว็บไซต์เป็นเครื่องมือบริหารจัดการกองทุน ตามกระบวนการดังนี้
3.1 การกำหนดแผนงาน โดยมีแผนงานที่เน้นการขับเคลื่อนเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ 5 แผนงานคือ
- แผนงานเหล้า
- แผนงานบุหรี่
- แผนงานสารเสพติด
- แผนงานอาหารปลอดภัย
- แผนงานกิจกรรมทางกาย
นอกจากนี้ก็พิจารณาจากสภาพปัญหาในพื้นที่
3.2 การการกำหนดประเด็นปัญหา จัดลำดับความสำคัญของประเด็นปัญหาในแต่ละแผนงาน
3.3 การกำหนดขนาดปัญหา บนพื้นฐานของข้อมูลที่เป็นจริงให้มากที่สุด
3.4 การกำหนดเป้าหมายที่ต้องไป
3.5 การเลือกแนวทางสู่เป้าหมาย
3.6 การกำหนดโครงการที่ควรจะทำเพื่อสู่เป้าหมาย
4. แนะนำการใช้โปรแกรมในเว็บ เพื่อการเลือกโครงการในแผนมาพัฒนา อนุมัติ ติดตาม และประเมินผล โดยจะได้ความสร้างความเข้าใจในดออกาสต่อไป - สอบถาม ปัญหา อุปสรรค. ของการทำงาน กองทุนตำบล และกองทุน LTC.
- ชี้แจง เตรียมรับการประเมิน ใน รอบต่อไป

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต
- มีผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 20 คน จาก เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน ฯคณะกรรมการกองทุน ฯ และผู้ขอรับงบประมาณจากกองทุน
ผลลัพธ์
-ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ ความเข้าใจในระเบียบ ฯ อำนาจหน้าที่ ของกองทุนฯ ได้ดีขึ้น
-ผู้เข้ารับการอบรม สามารถจัดทำแผนการเงิน ของกองทุน ฯ เพื่อนำไปเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการกองทุน ฯ ได้
-ผู้เข้ารับการอบรม สามารถจัดทำแผนงานและพัฒนาโครงการ บนระบบของเวปไซด์ ของ สปสช. เขต 12 ได้

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่2 ของ กองทุน อบต.ทุ่งนารี โดย นายนราวุฒิ แก้วหนูนวล5 เมษายน 2564
5
เมษายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย นราวุฒิ แก้วหนูนวล
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ติดตามการเขียนโครงการเเละการพัฒนาโครงการเเบบออนไลน์ ให้ความรู้เพิ่มเติมเเนวทางในการเขียนให้ตรงกับวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพเเห่งชาติ วันที่ 5 เมษายน 2564 เวลา 13.00น. ณ ห้องประชุม อบต.ทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีผู้เข้าร่วมประชุมประมาณ 18 คน ประกอบด้วย เลขากองทุน เจ้าหน้าที่กองทุน คณะกรรมการกองทุน และหน่วยขอรับทุน ได้ติดตามการเขียนโครงการเเละการพัฒนาโครงการเเบบออนไลน์ ให้ความรู้เพิ่มเติมเเนวทางในการเขียนให้ตรงกับวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพเเห่งชาติ เเละเเนะนำการเขียนโครงการให้ครบทุกกลุ่มวัย ตลอดจนเเนะนำเเนวทางในการเบิกจ่ายเงินของกองทุนให้เป็นไปตามระยะเวลาที่ สปสช. เขต 12 กำหนด

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่2 ของ กองทุน ทต.อ่าวพะยูน โดย นายกำพล เศรษฐสุข15 มีนาคม 2564
15
มีนาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย กำพล เศรษฐสุข
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กระตุ้นและสนับสนุนการลงระบบผ่านเว็ปไซต์เพื่อจัดการกองทุนให้กับผู้รับผิดชอบกองทุน และหน่วยงานราชการที่ขอรับทุน กระตุ้นให้หน่วยงานที่ขอรับทุนได้คีย์แผนงาน/โครงการ เข้าระบบเว็ปไซด์ได้อย่างถูกต้อง แนะนำการจัดทำแผนงานหลักเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ  5  แผนงานหลัก  ตามแนวทางการดำเนินงานของเขต  12  ได้  แก่  แผนงานเหล้า  แผนงานบุหรี่  แแผนสารเสพติด  แผนงานอาหารปลอดภัย  แผนงานกิจกรรมทางกาย

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน  12  คน  ได้แก่ เจ้าหน้าที่กองทุน  คณะกรรมการกองทุน  และตัวแทนหน่วยงานราชการที่ขอรับทุน ผลที่ได้รับ  คือผู้เข้าร่วมโครงการได้มีความรู้ความเข้าใจในการคีย์ข้อมูลผ่านระบบเว็ปของกองทุน

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่1 ของ กองทุน อบต.ป่าพะยอมโดย นางสาวธมล มงคลศิลป์13 มีนาคม 2564
13
มีนาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ธมล มงคลศิลป์ Coach
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

แนะนำการลงระบบออนไลน์ ฝึกการเขียนโครงการให้หน่วยขอรับงบปะมาณกองทุน ออกรหัสให้หน่วยขอรับทุน ได้ดำเนินการผ่านระบบ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีผู้เข้าร่วมจำนวนประมาณ ุ60 คน ประกอบด้วย เลขากองทุน กรรมการ เจ้าหน้าที่กองทุน หน่วยขอรับงบประมาณกองทุน ได้ แนะนำการออกเลขรหัส ให้กับหน่วยขอรับทุน และสอนวิธีการเข้าใช้งานในระบบให้กับหน่วยขอรับงบประมาณกองทุน และให้หน่วยได้เข้าไปทดลองใช้ระบบผ่านออนไลน์ ซึ่ง ทำให้หน่วยขอรับงบประมาณ สามารถใช้เวปของกองทุนได้ และลดในการเขียนโครงการได้ง่ายขึ้น ลดการใช้กระดาษ ได้จำนวน มาก

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่1 ของ กองทุน ทต.บ้านสวน โดย นางอมรรัตน์ ทุ่มพุ่ม12 มีนาคม 2564
12
มีนาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย t9332
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ของ กองทุน ทต.บ้านสวน ตลอดจนการบันทึกกิจกรรมการรายงานผลกิจกรรมโครงการ  และการสรุปผลโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีผู้เข้าร่วมจำนวนประมาณ ุ20 คน ประกอบด้วย เลขากองทุน กรรมการ เจ้าหน้าที่กองทุน หน่วยขอรับงบประมาณกองทุน ได้ แนะนำการออกเลขรหัส ให้กับหน่วยขอรับทุน และสอนวิธีการเข้าใช้งานในระบบให้กับหน่วยขอรับงบประมาณกองทุน และให้หน่วยได้เข้าไปทดลองใช้ระบบผ่านออนไลน์ ซึ่ง ทำให้หน่วยขอรับงบประมาณ สามารถใช้เวปของกองทุนได้ และลดในการเขียนโครงการได้ง่ายขึ้น

สนับสนุนการจัดทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพ และแผนการเงิน ของกองทุน อบต.ป่าพะยอม โดย นางสาวธมล มงคลศิลป์12 มีนาคม 2564
12
มีนาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ธมล มงคลศิลป์ Coach
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กระบวนการ
-ประสานงานกับ อปท.เพื่อแจ้ง จนท.ผู้รับผิดชอบงานและผู้เกี่ยวข้องทราบ
- ติดต่อสถานที่ประชุม การเยี่ยม ติดตาม นิเทศกองทุน
1. ทำแผนการเงินปีงบประมาณ 2564
2. สร้างความเข้าใจการทำแผนงาน/โครงการ /โครงการกองทุน ภายใต้หลักคิด หลักการ โดยใช้ ppt และhttps://localfund.happynetwork.org/ ดังนี้

หลักคิด
คณะกรรมการกองทุน เป็นกลไกกำหนดทิศทางสุขภาพของประชาชนในตำบล โดยมีแผนงานเป็นเครื่องมือไปสู่ทิศทาง/เป้าหมาย และมีโครงการเป็นเครื่องมือไปสู่ผลลัพธ์ตามเป้าหมาย

หลักการ
1. คณะกรรมการกองทุนมีหน้าที่พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนงาน โครงการ กิจกรรม ตามประกาศกองทุนข้อ 6 (1),(2)
2. การบริหารแผนงานโครงการโดยใช้หลักการตาม Ottawa Charter ด้วย 4 คำถามดังนี้
2.1 เราอยูู่ที่ไหน หมายถึงสถานาการณ์ ณ ปัจจุบัน ในที่นี้ คือข้อมูลขนาดปัญหา ในแผนงาน และหลักการและเหตุผลในโครงการ
2.2 เราจะไปไหน หมายถึงเป้าหมายในแผนงาน และผลลัพธ์ในโครงการ
2.3 เราจะไปอย่างไร หมายถึงแนวทางสู่เป้าหมายในแผนงาน และวิธีดำเนินการในโครงการ
2.4 เราไปถึงแล้วหรือยัง หมายถึงการทบทวนแผนงาน และการประเมินผลโครงการ
3. การใช้โปรแกรมบนเว้บไซต์เพื่อการบริหารจัดการกองทุน https://localfund.happynetwork.org/ ได้สร้างวามเข้าใจในการใช้โปรแกรมบนเว็บไซต์เป็นเครื่องมือบริหารจัดการกองทุน ตามกระบวนการดังนี้
3.1 การกำหนดแผนงาน โดยมีแผนงานที่เน้นการขับเคลื่อนเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ 5 แผนงานคือ
- แผนงานเหล้า
- แผนงานบุหรี่
- แผนงานสารเสพติด
- แผนงานอาหารปลอดภัย
- แผนงานกิจกรรมทางกาย
นอกจากนี้ก็พิจารณาจากสภาพปัญหาในพื้นที่
3.2 การการกำหนดประเด็นปัญหา จัดลำดับความสำคัญของประเด็นปัญหาในแต่ละแผนงาน
3.3 การกำหนดขนาดปัญหา บนพื้นฐานของข้อมูลที่เป็นจริงให้มากที่สุด
3.4 การกำหนดเป้าหมายที่ต้องไป
3.5 การเลือกแนวทางสู่เป้าหมาย
3.6 การกำหนดโครงการที่ควรจะทำเพื่อสู่เป้าหมาย
4. แนะนำการใช้โปรแกรมในเว็บ เพื่อการเลือกโครงการในแผนมาพัฒนา อนุมัติ ติดตาม และประเมินผล โดยจะได้ความสร้างความเข้าใจในดออกาสต่อไป
- สอบถาม ปัญหา อุปสรรค. ของการทำงาน กองทุนตำบล และกองทุน LTC.
- ชี้แจง เตรียมรับการประเมิน ใน รอบต่อไป

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต - มีผู้เข้ารับการอบรม จำนวนประมาณ 60 คน จาก เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน ฯคณะกรรมการกองทุน ฯ และผู้ขอรับงบประมาณจากกองทุน ผลลัพธ์ -ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ ความเข้าใจในระเบียบ ฯ อำนาจหน้าที่ ของกองทุนฯ ได้ดีขึ้น -ผู้เข้ารับการอบรม สามารถจัดทำแผนการเงิน ของกองทุน ฯ เพื่อนำไปเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการกองทุน ฯ ได้ -ผู้เข้ารับการอบรม สามารถจัดทำแผนงานและพัฒนาโครงการ บนระบบของเวปไซด์ ของ สปสช. เขต 12 ได้

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่1 ของ กองทุน ทต.แพรกหา โดย นางมธุภานี เจ้ยชุม12 มีนาคม 2564
12
มีนาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย มธุภาณี เจ้ยชุม
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

แนะนำการลงระบบออนไลน์ ฝึกการเขียนโครงการให้หน่วยขอรับงบปะมาณกองทุน ออกรหัสให้หน่วยขอรับทุน ได้ดำเนินการผ่านระบบ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีผู้เข้าร่วมจำนวน 13 คน ประกอบด้วย เลขากองทุน กรรมการ เจ้าหน้าที่กองทุน หน่วยขอรับงบประมาณกองทุน ได้ แนะนำการออกเลขรหัส ให้กับหน่วยขอรับทุน และสอนวิธีการเข้าใช้งานในระบบให้กับหน่วยขอรับงบประมาณกองทุน และให้หน่วยได้เข้าไปทดลองใช้ระบบผ่านออนไลน์ ซึ่ง ทำให้หน่วยขอรับงบประมาณ สามารถใช้เวปของกองทุนได้ และลดในการเขียนโครงการได้ง่ายขึ้น ลดการใช้กระดาษ ได้จำนวน มาก

สนับสนุนการเขียนโครงการ / การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1 ของกองทุน อบต.เกาะเต่า โดย นายศราวุฒิ เอียดดำ12 มีนาคม 2564
12
มีนาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ศราวุฒิ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

แนะนำการลงระบบออนไลน์ ฝึกการเขียนโครงการให้หน่วยขอรับงบปะมาณกองทุน ออกรหัสให้หน่วยขอรับทุน ได้ดำเนินการผ่านระบบ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีผู้เข้าร่วม 2 คน คือ เจ้าหน้าที่กองทุน ได้ แนะนำการออกเลขรหัส ให้กับหน่วยขอรับทุน และสอนวิธีการเข้าใช้งานในระบบให้กับหน่วยขอรับงบประมาณกองทุน และให้หน่วยได้เข้าไปทดลองใช้ระบบผ่านออนไลน์ ซึ่ง ทำให้หน่วยขอรับงบประมาณ สามารถใช้เวปของกองทุนได้ และลดในการเขียนโครงการได้ง่ายขึ้น ลดการใช้กระดาษ ได้จำนวน มาก

สนับสนุนการจัดทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพ และแผนการเงิน ของกองทุน อบต.เกาะเต่า โดย นายศราวุฒิ เอียดดำ12 มีนาคม 2564
12
มีนาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ศราวุฒิ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กระบวนการ
-ประสานงานกับ อปท.เพื่อแจ้ง จนท.ผู้รับผิดชอบงานและผู้เกี่ยวข้องทราบ
- ติดต่อสถานที่ประชุม การเยี่ยม ติดตาม นิเทศกองทุน
1. ทำแผนการเงินปีงบประมาณ 2564
2. สร้างความเข้าใจการทำแผนงาน/โครงการ /โครงการกองทุน ภายใต้หลักคิด หลักการ โดยใช้ ppt และhttps://localfund.happynetwork.org/ ดังนี้

หลักคิด
คณะกรรมการกองทุน เป็นกลไกกำหนดทิศทางสุขภาพของประชาชนในตำบล โดยมีแผนงานเป็นเครื่องมือไปสู่ทิศทาง/เป้าหมาย และมีโครงการเป็นเครื่องมือไปสู่ผลลัพธ์ตามเป้าหมาย

หลักการ
1. คณะกรรมการกองทุนมีหน้าที่พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนงาน โครงการ กิจกรรม ตามประกาศกองทุนข้อ 6 (1),(2)
2. การบริหารแผนงานโครงการโดยใช้หลักการตาม Ottawa Charter ด้วย 4 คำถามดังนี้
2.1 เราอยูู่ที่ไหน หมายถึงสถานาการณ์ ณ ปัจจุบัน ในที่นี้ คือข้อมูลขนาดปัญหา ในแผนงาน และหลักการและเหตุผลในโครงการ
2.2 เราจะไปไหน หมายถึงเป้าหมายในแผนงาน และผลลัพธ์ในโครงการ
2.3 เราจะไปอย่างไร หมายถึงแนวทางสู่เป้าหมายในแผนงาน และวิธีดำเนินการในโครงการ
2.4 เราไปถึงแล้วหรือยัง หมายถึงการทบทวนแผนงาน และการประเมินผลโครงการ
3. การใช้โปรแกรมบนเว้บไซต์เพื่อการบริหารจัดการกองทุน https://localfund.happynetwork.org/ ได้สร้างวามเข้าใจในการใช้โปรแกรมบนเว็บไซต์เป็นเครื่องมือบริหารจัดการกองทุน ตามกระบวนการดังนี้
3.1 การกำหนดแผนงาน โดยมีแผนงานที่เน้นการขับเคลื่อนเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ 5 แผนงานคือ
- แผนงานเหล้า
- แผนงานบุหรี่
- แผนงานสารเสพติด
- แผนงานอาหารปลอดภัย
- แผนงานกิจกรรมทางกาย
นอกจากนี้ก็พิจารณาจากสภาพปัญหาในพื้นที่
3.2 การการกำหนดประเด็นปัญหา จัดลำดับความสำคัญของประเด็นปัญหาในแต่ละแผนงาน
3.3 การกำหนดขนาดปัญหา บนพื้นฐานของข้อมูลที่เป็นจริงให้มากที่สุด
3.4 การกำหนดเป้าหมายที่ต้องไป
3.5 การเลือกแนวทางสู่เป้าหมาย
3.6 การกำหนดโครงการที่ควรจะทำเพื่อสู่เป้าหมาย
4. แนะนำการใช้โปรแกรมในเว็บ เพื่อการเลือกโครงการในแผนมาพัฒนา อนุมัติ ติดตาม และประเมินผล โดยจะได้ความสร้างความเข้าใจในดออกาสต่อไป
- สอบถาม ปัญหา อุปสรรค. ของการทำงาน กองทุนตำบล และกองทุน LTC.
- ชี้แจง เตรียมรับการประเมิน ใน รอบต่อไป

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต
- มีผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 3 คน จาก เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน ฯคณะกรรมการกองทุน ฯ และผู้ขอรับงบประมาณจากกองทุน
ผลลัพธ์
-ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ ความเข้าใจในระเบียบ ฯ อำนาจหน้าที่ ของกองทุนฯ ได้ดีขึ้น
-ผู้เข้ารับการอบรม สามารถจัดทำแผนการเงิน ของกองทุน ฯ เพื่อนำไปเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการกองทุน ฯ ได้
-ผู้เข้ารับการอบรม สามารถจัดทำแผนงานและพัฒนาโครงการ บนระบบของเวปไซด์ ของ สปสช. เขต 12 ได้

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่2 ของ กองทุน ทต.ทะเลน้อย โดย นางสาวปรียาภรณ์ คงผอม3 มีนาคม 2564
3
มีนาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ธมล มงคลศิลป์ Coach
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ดิดตามการเขียนโครงการเเละการพัฒนาโครงการเเบบออนไลน์ ให้ความรู้เพิ่มเติมเเนวทางในการเขียนให้ตรงกับวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพเเห่งชาติ แก่เลขานุการกองทุน และเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุน และผู้เกี่ยวข้อง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.คณะกรรมการกองทุน เลขานุการกองทุน ฯ เจ้าหน้าที่กองทุน ฯ และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง มีความรู้ ความเข้าใจวิธีการพัฒนาโครงการผ่านระบบของกองทุนหลักประกันสุขภาพ 2.คณะกรรมการกองทุน เลขานุการกองทุน ฯ เจ้าหน้าที่กองทุน ฯ และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง เข้าใจหลักการพิจารณาโครงการที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุน ฯ

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่1 ของ กองทุน อบต.ทุ่งนารี โดยนายนราวุฒิ แก้วหนูนวล23 กุมภาพันธ์ 2564
23
กุมภาพันธ์ 2564รายงานจากพื้นที่ โดย นราวุฒิ แก้วหนูนวล
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ให้ความรู้เชิงปฏิบัติการให้เเก่คณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าที่ หน่วยงานผู้รับทุน ในการเขียนโครงการประจำปี 2564 วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2564 เวลา 13.00 น. ณ ห้องประชุม อบต.ทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีผู้เข้าร่วมประชุม ประมาณ 19 คน ประกอบด้วย เลขานุการกองทุน เจ้าหน้าที่กองทุน คณะกรรมการกองทุน และหน่วยผู้ขอรับงบประมาณ เพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินงานและทิศทางการทำงานกองทุนในปี 2564  มีการนำแผนกองทุน โครงการ ตลอดจนแผนการเงินมาศึกษา ดูรายละเอียดการดำเนินโครงการและผลการการเบิกจ่ายเงินของกองทุนและมีการแนะนำปัญหาวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา สถานการณ์ และเรียนรู้หาแนวทางแก้ไขปัญหาต่างๆ

สนับสนุนการจัดทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพ และแผนการเงิน ของกองทุน อบต.ทุ่งนารี โดย นายนราวุฒิ แก้วหนูนวล23 กุมภาพันธ์ 2564
23
กุมภาพันธ์ 2564รายงานจากพื้นที่ โดย นราวุฒิ แก้วหนูนวล
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ให้ความรู้เชิงปฏิบัติการให้เเก่คณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าที่ หน่วยงานผู้รับทุน ในการเขียนโครงการประจำปี 2564 วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2564 เวลา 13.00 น. ณ ห้องประชุม อบต.ทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีผู้เข้าร่วมประชุม ประมาณ 19 คน ประกอบด้วย เลขานุการกองทุน เจ้าหน้าที่กองทุน คณะกรรมการกองทุน และหน่วยผู้ขอรับงบประมาณ เพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินงานและทิศทางการทำงานกองทุนในปี 2564  มีการนำแผนกองทุน โครงการ ตลอดจนแผนการเงินมาศึกษา ดูรายละเอียดการดำเนินโครงการและผลการการเบิกจ่ายเงินของกองทุนและมีการแนะนำปัญหาวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา สถานการณ์ และเรียนรู้หาแนวทางแก้ไขปัญหาต่างๆ

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่1 ของกองทุน ทต.เขาหัวช้าง โดย นางวาลัยพร ด้วงคง17 กุมภาพันธ์ 2564
17
กุมภาพันธ์ 2564รายงานจากพื้นที่ โดย วาลัยพร ด้วงคง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

แนะนำการลงระบบออนไลน์ ฝึกการเขียนโครงการให้หน่วยขอรับงบปะมาณกองทุน  ออกรหัสให้หน่วยขอรับทุน ได้ดำเนินการผ่านระบบ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีผู้เข้าร่วมประมาณ 20 คน ประกอบด้วย เลขากองทุน กรรมการ เจ้าหน้าที่กองทุน หน่วยขอรับงบประมาณกองทุน ได้ แนะนำการออกเลขรหัส ให้กับหน่วยขอรับทุน และสอนวิธีการเข้าใช้งานในระบบให้กับหน่วยขอรับงบประมาณกองทุน และให้หน่วยได้เข้าไปทดลองใช้ระบบผ่านออนไลน์ ซึ่ง ทำให้หน่วยขอรับงบประมาณ สามารถใช้เวปของกองทุนได้ และลดในการเขียนโครงการได้ง่ายขึ้น ลดการใช้กระดาษ ได้จำนวน มาก

สนับสนุนการจัดทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพ และแผนการเงิน ของกองทุนเทศบาลตำบลตะโหมด โดย นางวาลัยพร ด้วงคง17 กุมภาพันธ์ 2564
17
กุมภาพันธ์ 2564รายงานจากพื้นที่ โดย วาลัยพร ด้วงคง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

อบรมเชิงปฎิบัติการพัฒนาการศักยภาพในการจัดทำโครงการแผน กองทุน  ให้กับเจ้าหน้าที่กองทุน คณะกรรมการกองทุน  หน่วยขอรับทุน    วันที่  15  มกราคม  2564  ณ  ห้องประชุมเทศบาลตำบลตะโหมด

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีผู้เข้าร่วมประชุม ประมาณ 20 คน ประกอบด้วย เลขานุการกองทุน เจ้าหน้าที่กองทุน คณะกรรมการกองทุน และหน่วยผู้ขอรับงบประมาณ เพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินงานและทิศทางการทำงานกองทุนในปี 2564  มีการนำแผนกองทุน โครงการ ตลอดจนแผนการเงินมาศึกษา ดูรายละเอียดการดำเนินนโครงการและผลการการเบิกจ่ายเงินของกองทุนและมีการแนะนำปัญหาวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา สถานการณ์ และเรียนรู้หาแนวทางแก้ไขปัญหาต่างๆๆ ให้หมดไป

สนับสนุนการจัดทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพ และแผนการเงิน ของกองทุน เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง โดย นางวาลัยพร ด้วงคง9 กุมภาพันธ์ 2564
9
กุมภาพันธ์ 2564รายงานจากพื้นที่ โดย วาลัยพร ด้วงคง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

อบรมเชิงปฎิบัติการพัฒนาศักยภาพในการจัดทำโครงการ  แผนการเงิน  แผนกองทุน  ให้กับเจ้าหน้าที่กองทุน  คณะกรรมการกองทุน  หน่วยขอรับทุน  ในวันที่  15  มกราคม  2564  ณ  ห้องประชุมเทศบาลตำบลตะโหมด

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีผู้เข้าร่วมประชุมประมาณ  20  คน  ประกอบด้วย เลขากองทุน เจ้าหน้าที่กองทุน  คณะกรรมการกองทุน และหน่วยขอรับทุน  ได้ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานกองทุน ประจำปี  2564  ให้กับผู้เข้าร่วมประชุมได้รับทราบ ทิศทางการดำเนินงานกองทุน มีการนำแผนกองทุน โครงการ  มาศึกษาดูว่ามีครบตามนโยบายของเขต  หรือม้าย  ดูผลการเบิกจ่ายเงินของกองทุน  ปัญหาอุปสรรคที่ผ่านมีปัญหาในเรื่องอะไรบ้างเพื่อจะได้นำปัญหาต่างๆๆ  มาแก้ไขให้หมดไป  มีการแนะนำปัญาที่เกิดขึ้นนำมาวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาและสถานการณ์เรียนรู้วิธีการแก้ไขปัญหาต่างๆๆ  ให้หมด

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่1 ของกองทุน ทต.ตะโหมด โดย นางวาลัยพร ด้วงคง9 กุมภาพันธ์ 2564
9
กุมภาพันธ์ 2564รายงานจากพื้นที่ โดย วาลัยพร ด้วงคง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

อบรมเชิงปฎิบัติการพัฒนาการศักยภาพในการจัดทำโครงการ  การทำแผน  กองทุน  ให้กับเจ้าหน้าที่กองทุน  คณะกรมการกองทุน  หน่วยขอรับทุน  วันที่  15  มกราคม  2564  ณ  ห้องประชุมเทศบาลตำบลตะโหมด

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีผู้เข้าร่วมประมาณ  20  คน  ประกอบด้วย เลขากองทุน  ประธานกองุกุน  เจ้าหน้าที่กองทุน  คณะกรรมการกองทุน  และหน่วยขอรับทุนได้ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานกองทุน ปี  2564  ให้กับผู้เข้าร่วมประชุมได้ทราบทิศทางและการดำเนินงาน  มีการนำแผนกองทุน  และโครงการ ตลอดจนแผนการเงินมาศึกษา ดูรายละเอียด  วิเคราะห์ผลการดำเนินโครงการและผลการเบิกจ่ายเงินของกองทุน  อยู่ในระดับไหน  และมีการแนะนำปัญหาวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา สถานการณ์ปัญหาและเรียนรู้แนวทางการแก้ไขปัญหาตามแนวทางออตวาชาเตอร์  ซึ่งการฝึกปฎิบัติจริงนำปัญหาของพื้นที่มาทำการวิเคราะห์ และได้แนะนำการใช้ระบบเวปออนไลน์ให้กับเจ้าหน้าที่กองทุน  และหน่วยผู้รับทุน  ได้เรียนรู้กานพัฒนาในระบบ

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่2 ของ กองทุน ทต.ปรางหมู่ โดย นางสาว ธมล มงคลศิป์8 กุมภาพันธ์ 2564
8
กุมภาพันธ์ 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ธมล มงคลศิลป์ Coach
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ติดตามการเขียนโครงการเเละการพัฒนาโครงการเเบบออนไลน์ ให้ความรู้เพิ่มเติมเเนวทางในการเขียนให้ตรงกับวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพเเห่งชาติ แก่เลขานุการกองทุน และเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุน และผู้เกี่ยวข้อง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เลขานุการกองทุน ฯ เจ้าหน้าที่กองทุน ฯ และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง มีความรู้ ความเข้าใจวิธีการพัฒนาโครงการผ่านระบบของกองทุนหลักประกันสุขภาพ 2.เลขานุการกองทุน ฯ เจ้าหน้าที่กองทุน ฯ และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง เข้าใจหลักการพิจารณาโครงการที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุน ฯ

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่2 ของ กองทุน อบต.โคกทราย โดย นายอ่ารีด พลนุ้ย2 กุมภาพันธ์ 2564
2
กุมภาพันธ์ 2564รายงานจากพื้นที่ โดย อ่ารีด พลนุ้ย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ติดตามการเขียนโครงการเเละการพัฒนาโครงการเเบบออนไลน์ ให้ความรู้เพิ่มเติมเเนวทางในการเขียนให้ตรงกับวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพเเห่งชาติ วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2564 เวลา 13.00น. ณ ห้องประชุม อบต.โคกทราย

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีผู้เข้าร่วมประชุมประมาณ17 คน ประกอบด้วย เลขากองทุน เจ้าหน้าที่กองทุน คณะกรรมการกองทุน และหน่วยขอรับทุน ได้ติดตามการเขียนโครงการเเละการพัฒนาโครงการเเบบออนไลน์ ให้ความรู้เพิ่มเติมเเนวทางในการเขียนให้ตรงกับวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพเเห่งชาติ เเละเเนะนำการเขียนโครงการให้ครบทุกกลุ่มวัย ตลอดจนเเนะนำเเนวทางในการเบิกจ่ายเงินของกองทุนให้เป็นไปตามระยะเวลาที่ สปสช. เขต 12 กำหนด

สนับสนุนการจัดทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพ และแผนการเงิน ของกองทุน เทศบาลตำบลบ้านสวน โดย นางอมรรัตน์ ทุ่มพุ่ม26 มกราคม 2564
26
มกราคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย t9332
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ติดต่อประสานงาน จนท.ผู็รับผิดชอบงาน กองทุนเทศบาลตำบลบ้านสวน เพื่อให้ประสาน คณะกรรมการ ผู้ขอรับทุนของกองทุน ทุกชมรม องค์กร  หน่วยงานของรัฐ
2.นัดประชุม วันที่ 26 มกราคม 2563 ที่ ห้องประชุมเทศบาลตำบลบ้านสวน 3.ประชุมปฎิบัติการเรื่องการจัดทำแผนสุขภาพของกองทุน และการเขียนโครงการผ่านแวปไชด์ออนไลด์ 4.การสรุปผลโครงการ การประเมินโครงการ
5.การออกรหัสให้กลุ่มต่างๆ ที่ขอรับทุน 6.อธิบายแผนการเงิน การใช้จ่ายเงินต่างๆ การทำบัญชี ของกองทุน และได้คุยถึงเรื่องตัวชี้วัดผลงานที่ทาง สปสช.เขต 12 ได้ทำร่างการปรับเกลี่ยเงินกองทุนตำบล ปี 2565 จำนวน 67,500 บาท โดยมีตัวชี้วัด 9 ตัว คือ 1. ศพด.มีโครงการแก้ภาวะโภชนาการและเพิ่มพัฒนาการเด็ก จำนวน 200 point 2. ทำแผนสุขภาพ แผนบุหรี่-โครงการบุหรี่ จำนวน 200 point 3. ทำแผนสุขภาพโรคเรื้อรัง-โครงการโรคเรื้อรัง จำนวน 200 point 4. ทำแผนสุขภาพอาหารและโภชนาการ จำนวน 100 point 5. ทำแผนสุขภาพแรงงานนอกระบบ -โครงการแรงงานนอกระบบ จำนวน 200 point 6. ท้องถิ่น สมทบเงินภายใน 31 มีนาคม 2564 จำนวน 100 point 7.กองทุนเบิกจ่ายในไตรมาส 2 (31 มีค.64) 60 % จำนวน 200 point 8.กองทุนเบิกจ่ายโอนเงิน LTC ภายใน 45 วัน นับจากรับเงิน จำนวน 200 point 9.กองทุนเบิกจ่ายมากกว่า 80% ของรายรับทั้งหมด (30 กย.64) จำนวน 200 point และนอกจากนี้ให้ผู้ที่เข้าร่วมประชุมได้ซักถามปัญหาต่างๆ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 24 คน ประกอบด้วยตัวแทนกลุ่มผู้สูงอายุ/ ตัวแทนกลุ่ม อสม. /ตัวแทนกลุ่ม รพ.สต./จนท.กองทุน และทีมพี่เลี้ยง 4 คน โดยผู้เข้าประชุม ได้เรียนรู้การวิเคราะห์ปัญหา โดยใช้ต้นไม้ปัญหาวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา สถานการณ์ปัญหา และผลกระทบของปัญหา และเรียนรู้แนวทางการแก้ปัญหาตามแนวทางออตตาวา ชาร์เตอร์  มีการอธิบายเรื่องการทำแผนงานกองทุน  และการเขียนโครงการเพื่อขอรับทุนผ่านแวปไชด์  ได้ให้ดูการเขียนโครงการเพื่อของบประมาณที่มึคุณภาพและถูกต้องตามหลักการ  วัตถุประสงค์สามารถตอบตัวชี้วัดได้

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่1 ของ กองทุน ทต.ปรางหมู่ โดย นางสาว ธมล มงคลศิลป์22 มกราคม 2564
22
มกราคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ธมล มงคลศิลป์ Coach
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-ประสานงานกับ อปท.เพื่อแจ้ง จนท.ผู้รับผิดชอบงานและผู้เกี่ยวข้องทราบ
- ติดต่อสถานที่ประชุม การเยี่ยม ติดตาม นิเทศกองทุน
- ได้เข้าร่วมประชุม และให้คำแนะนำแก่ คณะกรรมการกองทุน ที่ประชุม ดำเนินการประชุมดังนี้
1. ติดตามการดำเนินงานโครงการปี 2563
2. รับรองรายงานการเงิน
3. ทำแผนการเงินปีงบประมาณ 2564
4. สร้างความเข้าใจการทำแผนงาน/โครงการ /โครงการกองทุน ภายใต้หลักคิด หลักการ โดยใช้ ppt และhttps://localfund.happynetwork.org/ ดังนี้

หลักคิด
คณะกรรมการกองทุน เป็นกลไกกำหนดทิศทางสุขภาพของประชาชนในตำบล โดยมีแผนงานเป็นเครื่องมือไปสู่ทิศทาง/เป้าหมาย และมีโครงการเป็นเครื่องมือไปสู่ผลลัพธ์ตามเป้าหมาย

หลักการ
1. คณะกรรมการกองทุนจึงมีหน้าที่พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนงาน โครงการ กิจกรรม ตามประกาศกองทุนข้อ 6 (1),(2)
2. การบริหารแผนงานโครงการโดยใช้หลักการตาม Ottawa Charter ด้วย 4 คำถามดังนี้
2.1 เราอยูู่ที่ไหน หมายถึงสถานาการณ์ ณ ปัจจุบัน ในที่นี้ คือข้อมูลขนาดปัญหา ในแผนงาน และหลักการและเหตุผลในโครงการ
2.2 เราจะไปไหน หมายถึงเป้าหมายในแผนงาน และผลลัพธ์ในโครงการ
2.3 เราจะไปอย่างไร หมายถึงแนวทางสู่เป้าหมายในแผนงาน และวิธีดำเนินการในโครงการ
2.4 เราไปถึงแล้วหรือยัง หมายถึงการทบทวนแผนงาน และการประเมินผลโครงการ
3. การใช้โปรแกรมบนเว้บไซต์เพื่อการบริหารจัดการกองทุน https://localfund.happynetwork.org/ ได้สร้างวามเข้าใจในการใช้โปรแกรมบนเว็บไซต์เป็นเครื่องมือบริหารจัดการกองทุน ตามกระบวนการดังนี้
3.1 การกำหนดแผนงาน โดยมีแผนงานที่เน้นการขับเคลื่อนเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ 5 แผนงานคือ
- แผนงานเหล้า
- แผนงานบุหรี่
- แผนงานสารเสพติด
- แผนงานอาหารปลอดภัย
- แผนงานกิจกรรมทางกาย
นอกจากนี้ก็พิจารณาจากสภาพปัญหาในพื้นที่
3.2 การการกำหนดประเด็นปัญหา จัดลำดับความสำคัญของประเด็นปัญหาในแต่ละแผนงาน
3.3 การกำหนดขนาดปัญหา บนพื้นฐานของข้อมูลที่เป็นจริงให้มากที่สุด
3.4 การกำหนดเป้าหมายที่ต้องไป
3.5 การเลือกแนวทางสู่เป้าหมาย
3.6 การกำหนดโครงการที่ควรจะทำเพื่อสู่เป้าหมาย
4. แนะนำการใช้โปรแกรมในเว็บ เพื่อการเลือกโครงการในแผนมาพัฒนา อนุมัติ ติดตาม และประเมินผล โดยจะได้ความสร้างความเข้าใจในดออกาสต่อไป - สอบถาม ปัญหา อุปสรรค. ของการทำงาน กองทุนตำบล และกองทุน LTC.
- ชี้แจง เตรียมรับการประเมิน ใน รอบต่อไป

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต
- มีผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 3 คน จาก เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน ฯคณะกรรมการกองทุน ฯ และผู้ขอรับงบประมาณจากกองทุน
ผลลัพธ์
-ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ ความเข้าใจในระเบียบ ฯ อำนาจหน้าที่ ของกองทุนฯ ได้ดีขึ้น
-ผู้เข้ารับการอบรม สามารถจัดทำแผนการเงิน ของกองทุน ฯ เพื่อนำไปเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการกองทุน ฯ ได้
-ผู้เข้ารับการอบรม สามารถจัดทำแผนงานและพัฒนาโครงการ บนระบบของเวปไซด์ ของ สปสช. เขต 12 ได้

สนับสนุนการจัดทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพ และแผนการเงิน ของกองทุน เทศบาลตำบลเขาเจียก โดย นางกชกานต์ คงชู22 มกราคม 2564
22
มกราคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ธมล มงคลศิลป์ Coach
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กระบวนการ
-ประสานงานกับ อปท.เพื่อแจ้ง จนท.ผู้รับผิดชอบงานและผู้เกี่ยวข้องทราบ
- ติดต่อสถานที่ประชุม การเยี่ยม ติดตาม นิเทศกองทุน
1. ทำแผนการเงินปีงบประมาณ 2564
2. สร้างความเข้าใจการทำแผนงาน/โครงการ /โครงการกองทุน ภายใต้หลักคิด หลักการ โดยใช้ ppt และhttps://localfund.happynetwork.org/ ดังนี้

หลักคิด
คณะกรรมการกองทุน เป็นกลไกกำหนดทิศทางสุขภาพของประชาชนในตำบล โดยมีแผนงานเป็นเครื่องมือไปสู่ทิศทาง/เป้าหมาย และมีโครงการเป็นเครื่องมือไปสู่ผลลัพธ์ตามเป้าหมาย

หลักการ
1. คณะกรรมการกองทุนมีหน้าที่พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนงาน โครงการ กิจกรรม ตามประกาศกองทุนข้อ 6 (1),(2)
2. การบริหารแผนงานโครงการโดยใช้หลักการตาม Ottawa Charter ด้วย 4 คำถามดังนี้
2.1 เราอยูู่ที่ไหน หมายถึงสถานาการณ์ ณ ปัจจุบัน ในที่นี้ คือข้อมูลขนาดปัญหา ในแผนงาน และหลักการและเหตุผลในโครงการ
2.2 เราจะไปไหน หมายถึงเป้าหมายในแผนงาน และผลลัพธ์ในโครงการ
2.3 เราจะไปอย่างไร หมายถึงแนวทางสู่เป้าหมายในแผนงาน และวิธีดำเนินการในโครงการ
2.4 เราไปถึงแล้วหรือยัง หมายถึงการทบทวนแผนงาน และการประเมินผลโครงการ
3. การใช้โปรแกรมบนเว้บไซต์เพื่อการบริหารจัดการกองทุน https://localfund.happynetwork.org/ ได้สร้างวามเข้าใจในการใช้โปรแกรมบนเว็บไซต์เป็นเครื่องมือบริหารจัดการกองทุน ตามกระบวนการดังนี้
3.1 การกำหนดแผนงาน โดยมีแผนงานที่เน้นการขับเคลื่อนเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ 5 แผนงานคือ
- แผนงานเหล้า
- แผนงานบุหรี่
- แผนงานสารเสพติด
- แผนงานอาหารปลอดภัย
- แผนงานกิจกรรมทางกาย
นอกจากนี้ก็พิจารณาจากสภาพปัญหาในพื้นที่
3.2 การการกำหนดประเด็นปัญหา จัดลำดับความสำคัญของประเด็นปัญหาในแต่ละแผนงาน
3.3 การกำหนดขนาดปัญหา บนพื้นฐานของข้อมูลที่เป็นจริงให้มากที่สุด
3.4 การกำหนดเป้าหมายที่ต้องไป
3.5 การเลือกแนวทางสู่เป้าหมาย
3.6 การกำหนดโครงการที่ควรจะทำเพื่อสู่เป้าหมาย
4. แนะนำการใช้โปรแกรมในเว็บ เพื่อการเลือกโครงการในแผนมาพัฒนา อนุมัติ ติดตาม และประเมินผล โดยจะได้ความสร้างความเข้าใจในดออกาสต่อไป
- สอบถาม ปัญหา อุปสรรค. ของการทำงาน กองทุนตำบล และกองทุน LTC.
- ชี้แจง เตรียมรับการประเมิน ใน รอบต่อไป

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต
- มีผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 3 คน จากเจ้าหน้าที่กองทุน คณะกรรมการกองทุน ฯ และผู้ขอรับงบประมาณจากกองทุน
ผลลัพธ์
-ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ ความเข้าใจในระเบียบ ฯ อำนาจหน้าที่ ของกองทุนฯ ได้ดีขึ้น
-ผู้เข้ารับการอบรม สามารถจัดทำแผนการเงิน ของกองทุน ฯ เพื่อนำไปเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการกองทุน ฯ ได้
-ผู้เข้ารับการอบรม สามารถจัดทำแผนงานบนระบบของเวปไซด์ ของ สปสช. เขต 12 ได้

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่1 ของกองทุน อบต.โคกทราย โดย นายอ่ารีด พลนุ้ย20 มกราคม 2564
20
มกราคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย อ่ารีด พลนุ้ย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เเนะนำการเขียนโครงการผ่านทางออนไลน์ การพัฒนาโครงการในเเผนงานต่างๆเเก่ คณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าที่ ผู้ขอรับงบประมาณ เเละเเนะนำการออกรหัสในการพัฒนาโครงการให้เเก่ผู้ขอรับงบจากหน่วยงานต่างๆ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีผู้เข้าร่วมประมาณ 17  คน  ประกอบด้วย เลขากองทุน  ประธานกองทุน  เจ้าหน้าที่กองทุน  คณะกรรมการกองทุน  และหน่วยขอรับทุนได้ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานกองทุน ปี  2564  ให้กับผู้เข้าร่วมประชุมได้ทราบถึงการเขียนโครงการผ่านทางออนไลน์ การพัฒนาโครงการในเเผนงานต่างๆเเก่ คณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าที่ ผู้ขอรับงบประมาณ เเละเเนะนำการออกรหัสในการพัฒนาโครงการให้เเก่ผู้ขอรับงบจากหน่วยงานต่างๆ ซึ่งการฝึกปฎิบัติจริงนำปัญหาของพื้นที่มาทำการวิเคราะห์ และได้แนะนำการใช้ระบบเวปออนไลน์ให้กับเจ้าหน้าที่กองทุน  และหน่วยผู้รับทุน  ได้เรียนรู้การพัฒนาในระบบ

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่1 ของกองทุน ทต.อ่าวพะยูน โดย นายกำพล เศรษฐสุข19 มกราคม 2564
19
มกราคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย กำพล เศรษฐสุข
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

รวมแลกเปลี่ยนเพื่อเพิ่มศักยภาพในการจัดทำการทำแผน ของกองทุน กับประธานกองทุน เลขากองทุน ผ฿้รับผิดชอบ และคณะกรรมกองทุน วันที่  19  มกราคม  2564  ณ  ห้องประชุมเทศบาลตำบลอ่าวพะยูน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 9 คน ประกอบด้วย ประธานกองุกุน เลขากองทุน เจ้าหน้าที่กองทุนจำนวน 2 คน และคณะกรรมการ จำนวน 5 คน  พี่เลี้ยงได้ชี้แจงให้กับผู้เข้าร่วมประชุมได้ทราบทิศทางและการดำเนินงาน ในปีงบประมาณ 2564 ร่วมกันวิเคราะห์ผลการดำเนินโครงการและผลการเบิกจ่ายเงินปีงบประมาณ 2563 และมีการแนะนำปัญหาวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา สถานการณ์ปัญหาและเรียนรู้แนวทางการแก้ไขปัญหา

สนับสนุนการจัดทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพ และแผนการเงิน ของกองทุน อบต.นาปะขอ โดย นายณัฐพงศ์ คงสง14 มกราคม 2564
14
มกราคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐพงศ์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-ประสานงานกับ อปท.เพื่อแจ้ง จนท.ผู้รับผิดชอบงานและผู้เกี่ยวข้องทราบ - ติดต่อสถานที่ประชุม การเยี่ยม ติดตาม นิเทศกองทุน 1. ทำแผนการเงินปีงบประมาณ 2564 2. สร้างความเข้าใจการทำแผนงาน/โครงการ /โครงการกองทุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีผู้เข้าร่วมประชุมประมาณ 20 คน ประกอบด้วย เลขากองทุน เจ้าหน้าที่กองทุน คณะกรรมการกองทุน และหน่วยขอรับทุน ได้ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานกองทุน ประจำปี 2564 ให้กับผู้เข้าร่วมประชุมได้รับทราบ ทิศทางการดำเนินงานกองทุน มีการนำแผนกองทุน โครงการ มาศึกษาดูว่ามีครบตามนโยบายของเขต  ดูผลการเบิกจ่ายเงินของกองทุน ปัญหาอุปสรรคที่ผ่านมามีปัญหาในเรื่องอะไรบ้างเพื่อจะได้นำปัญหาต่างๆ มาแก้ไขให้หมดไป มีการแนะนำปัญาที่เกิดขึ้นนำมาวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาและสถานการณ์เรียนรู้วิธีการแก้ไขปัญหาต่างๆ

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่1 ของ กองทุน อบต.นาปะขอ โดย นายณัฐพงศ์ คงสง14 มกราคม 2564
14
มกราคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐพงศ์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

แนะนำการลงระบบออนไลน์ ฝึกการเขียนโครงการให้หน่วยขอรับงบปะมาณกองทุน  ออกรหัสให้หน่วยขอรับทุน ได้ดำเนินการผ่านระบบ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีผู้เข้าร่วมประมาณ 20 คน ประกอบด้วย เลขากองทุน ประธานกองุกุน เจ้าหน้าที่กองทุน คณะกรรมการกองทุน และหน่วยขอรับทุนได้ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานกองทุน ปี 2564 ให้กับผู้เข้าร่วมประชุมได้ทราบทิศทางและการดำเนินงาน มีการนำแผนกองทุน และโครงการ ตลอดจนแผนการเงินมาศึกษา ดูรายละเอียด วิเคราะห์ผลการดำเนินโครงการและผลการเบิกจ่ายเงินของกองทุน อยู่ในระดับไหน และมีการแนะนำปัญหาวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา สถานการณ์ปัญหาและเรียนรู้แนวทางการแก้ไขปัญหาตามแนวทางออตวาชาเตอร์ ซึ่งการฝึกปฎิบัติจริงนำปัญหาของพื้นที่มาทำการวิเคราะห์ และได้แนะนำการใช้ระบบเวปออนไลน์ให้กับเจ้าหน้าที่กองทุน และหน่วยผู้รับทุน ได้เรียนรู้กานพัฒนาในระบบ

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่1 ของกองทุน ทต.บางแก้ว โดย พ.จ.อ.หญิงอมรรัตน์ ทวีตา14 มกราคม 2564
14
มกราคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย อมรรัตน์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

แนะนำการลงระบบออนไลน์ ฝึกการเขียนโครงการให้หน่วยขอรับงบปะมาณกองทุน ออกรหัสให้หน่วยขอรับทุน ได้ดำเนินการผ่านระบบ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีผู้เข้าร่วมประมาณ  20  คน  ประกอบด้วย เลขากองทุน  ประธานกองุกุน  เจ้าหน้าที่กองทุน  คณะกรรมการกองทุน  และหน่วยขอรับทุนได้ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานกองทุน ปี  2564  ให้กับผู้เข้าร่วมประชุมได้ทราบทิศทางและการดำเนินงาน  มีการนำแผนกองทุน  และโครงการ ตลอดจนแผนการเงินมาศึกษา ดูรายละเอียด  วิเคราะห์ผลการดำเนินโครงการและผลการเบิกจ่ายเงินของกองทุน  อยู่ในระดับไหน  และมีการแนะนำปัญหาวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา สถานการณ์ปัญหาและเรียนรู้แนวทางการแก้ไขปัญหาตามแนวทางออตวาชาเตอร์  ซึ่งการฝึกปฎิบัติจริงนำปัญหาของพื้นที่มาทำการวิเคราะห์ และได้แนะนำการใช้ระบบเวปออนไลน์ให้กับเจ้าหน้าที่กองทุน  และหน่วยผู้รับทุน  ได้เรียนรู้กานพัฒนาในระบบ

สนับสนุนการจัดทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพ และแผนการเงิน ของกองทุน เทศบาลตำบลบางแก้ว โดย พจอ.หญิง อมรรัตน์ ทวีตา14 มกราคม 2564
14
มกราคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย อมรรัตน์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

อบรมเชิงปฎิบัติการพัฒนาศักยภาพในการจัดทำโครงการ แผนการเงิน แผนกองทุน ให้กับเจ้าหน้าที่กองทุน คณะกรรมการกองทุน หน่วยขอรับทุน ในวันที่ 14 มกราคม 2564 ณ ห้องประชุม รพ.สต.นาปะขอ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีผู้เข้าร่วมประชุมประมาณ 20 คน ประกอบด้วย เลขากองทุน เจ้าหน้าที่กองทุน คณะกรรมการกองทุน และหน่วยขอรับทุน ได้ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานกองทุน ประจำปี 2564 ให้กับผู้เข้าร่วมประชุมได้รับทราบ ทิศทางการดำเนินงานกองทุน มีการนำแผนกองทุน โครงการ มาศึกษาดูว่ามีครบตามนโยบายของเขต  ดูผลการเบิกจ่ายเงินของกองทุน ปัญหาอุปสรรคที่ผ่านมามีปัญหาในเรื่องอะไรบ้างเพื่อจะได้นำปัญหาต่างๆ มาแก้ไขให้หมดไป มีการแนะนำปัญาที่เกิดขึ้นนำมาวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาและสถานการณ์เรียนรู้วิธีการแก้ไขปัญหาต่างๆๆ ให้หมด

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่2 ของ กองทุน ทต.ควนขนุน โดย นายสมนึกนุ่นด้วง12 มกราคม 2564
12
มกราคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย สมนึก
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

แนะนำการเขียนโครงการ และการตรวจพิจารณาโครงการที่ขอรับทุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต
ผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้ขอรับทุน จำนวน 5 คน ได้เรียนรู้หลักการเขียนโครงการที่เน้นผลลัพธ์ โดยกระบวนการวิเคราะห์ปัจจัยกำหนดสุขภาพ คน/สภาพแลดล้อม/กลไก  โดยใช้เครื่องมือ https://localfund.happynetwork.org/แผนงาน/โครงการ /การบันทึกติดตามโครงการ
ผลลัพธ์ ผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้ขอรับทุน จำนวน 5 คน เข้าใจสามารถจำทำตามตัวอย่างได้ (แต่ยังไม่มีโครงการจริง)

ปัญหา .......................

สนับสนุนการจัดทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพ และแผนการเงิน ของกองทุน อบต.โคกทราย โดย นายอ่ารีด พลนุ้ย12 มกราคม 2564
12
มกราคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย อ่ารีด พลนุ้ย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ให้ความรู้เชิงปฏิบัติการให้เเก่คณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าที่ หน่วยงานผู้รับทุน ในการเขียนโครงการประจำปี 2564 วันที่ 12 มาราคม 2564 เวลา 13.00 น. ณ ห้องประชุม อบต.โคกทราย

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีผู้เข้าร่วมประชุม ประมาณ 17 คน ประกอบด้วย เลขานุการกองทุน เจ้าหน้าที่กองทุน คณะกรรมการกองทุน และหน่วยผู้ขอรับงบประมาณ เพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินงานและทิศทางการทำงานกองทุนในปี 2564  มีการนำแผนกองทุน โครงการ ตลอดจนแผนการเงินมาศึกษา ดูรายละเอียดการดำเนินโครงการและผลการการเบิกจ่ายเงินของกองทุนและมีการแนะนำปัญหาวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา สถานการณ์ และเรียนรู้หาแนวทางแก้ไขปัญหาต่างๆ

สนับสนุนการเขียนโครงการ / การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1 ของกองทุน ทต.หานโพธิ์ โดย นายประเทือง อมรวิริยะชัย30 ธันวาคม 2563
30
ธันวาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย เทือง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพในการจัดทำโครงการด้านสุขภาพ สำหรับผู้ขอรับการสนับสนุนเงินจากกองทุนสุขภาพตำบล วันที่ 30 ธันวาคม 2563 ณ ห้องประชุม รพ.สต.บ้านหานโพธิ์

-เปิดการอบรม โดย ผอ.รพ.สต.หานโพธิ์ (กรรมการกองทุนฯ) กล่าวที่มาของการอบรมในครั้งนี้ แนะนำวิทยากร(พี่เลี้ยง)

-นายประเทือง อมรวิริยะชัย บรรยายการวิเคราะห์ปัญหา โดยใช้ต้นไม้ปัญหา ตามหลักการและยกตัวอย่างการวิเคราะห์ปัญหาเรื่องขยะ โดยต้องบอกถึงสถานการณ์ของปัญหาขยะในตำบลของเรา ว่าเป็นอย่างไร นำข้อมูลย้อนหลังมาแสดงให้เห็นถึงปัญหา เช่น ปริมาณขยะของตำบลกี่ตันต่อวัน ค่าใช้จ่ายในการจัดการขยะ ฯ และวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา กรอบแนวคิดปัจจัยกําหนดสุขภาพ คือ

1.ปัจจัยทีเกี่ยวข้องกับปัจเจกบุคคล

2.ปัจจัยทีเกี่ยวกับสภาพแวดล้อม

3.ปัจจัยเกี่ยวกับระบบและกลไก

และบรรยายหลักการตามแนวทาง ออตตาวา ชาร์เตอร์ 5ข้อ คือ

  1. การเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็ง
    2 การพัฒนาทักษะส่วนบุคคล
    3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อ
    4 การพัฒนานโยบายสาธารณะ
    5 การปรับระบบ/กลไก
    หลังจากกนั้น มีการแบ่งกลุ่ม เป็น 2 กลุ่ม ฝึกปฏิบัติการตั้งแต่การวิเคราะห์ปัญหา โดยใช้ต้นไม้ปัญหา และแนวทางการแก้ไขปัญหา ตามออตตาวา ชาร์เตอร์ และให้ตัวแทนกลุ่มนำเสนอ และวิทยากรพี่เลี้ยงให้คำแนะนำเพิ่มเติม

-นายประเทือง อมรวิริยะชัย วิทยากรพี่เลี้ยง ได้ติดตามแผนสุขภาพบนเวปไซต์ และแนวทางการเขียนและพัฒนาโครงการบนเวปไซต์แบบออนไลน์ www.localfund.happynetwork.org และได้คุยถึงเรื่องตัวชี้วัดผลงานที่ทาง สปสช.เขต 12 ได้ทำร่างการปรับเกลี่ยเงินกองทุนตำบล ปี 2565 จำนวน 67,500 บาท โดยมีตัวชี้วัด 9 ตัว คือ

  1. ศพด.มีโครงการแก้ภาวะโภชนาการและเพิ่มพัฒนาการเด็ก จำนวน 200 point
  2. ทำแผนสุขภาพ แผนบุหรี่-โครงการบุหรี่ จำนวน 200 point
  3. ทำแผนสุขภาพโรคเรื้อรัง-โครงการโรคเรื้อรัง จำนวน 200 point
  4. ทำแผนสุขภาพอาหารและโภชนาการ จำนวน 100 point
  5. ทำแผนสุขภาพแรงงานนอกระบบ -โครงการแรงงานนอกระบบ จำนวน 200 point
  6. ท้องถิ่น สมทบเงินภายใน 31 มีนาคม 2564 จำนวน 100 point
    7.กองทุนเบิกจ่ายในไตรมาส 2 (31 มีค.64) 60 % จำนวน 200 point

8.กองทุนเบิกจ่ายโอนเงิน LTC ภสยใน 45 วัน นับจากรับเงิน จำนวน 200 point
9.กองทุนเบิกจ่ายมากกว่า 80% ของรายรับทั้งหมด (30 กย.64) จำนวน 200 point

-นายสมนึก นุ่นด้วง หัวหน้าทีมสนับสนุนพี่เลี้ยง ได้ เพิ่มเติมการพัฒนาโครงการบนเวปไซต์
-นางสาวจันทราวรรณ แก้วดุก ตำแหน่งเจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน จนท.จากกองทุนสุขภาพตำบลหานโพธิ์ ได้ เพิ่มเติมในการจัดทำโครงการขอสนับสนุนเงินจากกองทุน โดยให้รีบดำเนินการส่งโครงการภายในเดือนมกราคม 2564 และนำเข้าที่ประชุมของคณะอนุกรรมการพิจารณาก่อน หลังจากนั้นมีการปรับปรุงแก้ไขโครงการ เสร็จ พร้อมเสนอคณะกรรมการกองทุนพิจารณาอนุมัติต่อไป และจะดำเนินการโอนเงิน ภายในเดือน มีนาคม 2564

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 30 คน ประกอบด้วยตัวแทนกลุ่มผู้สูงอายุ/ ตัวแทนกลุ่ม อสม. /ตัวแทนกลุ่ม รพ.สต./จนท.กองทุน และทีมพี่เลี้ยง 2 คน โดยผู้เข้าประชุม ได้เรียนรู้การวิเคราะห์ปัญหา โดยใช้ต้นไม้ปัญหาวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา สถานการณ์ปัญหา และผลกระทบของปัญหา และเรียนรู้แนวทางการแก้ปัญหาตามแนวทางออตตาวา ชาร์เตอร์ ซึ่งมีการฝึกปฏิบัติจริงนำปัญหาของพื้นที่มาวิเคราะห์โดยแบ่งกลุ่ม และนำเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน หลังจากนั้นผู้เข้าร่วมประชุมได้เรียนรู้การนำโครงการมาพัฒนาบนเวปไซต์ และได้นัดพัฒนาโครงการอีกครั้งในเดือนมกราคม ประมาณวันที่ 15 มกราคม 2564

สนับสนุนการจัดทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพ และแผนการเงิน ของกองทุน เทศบาลตำบลแพรกหา โดย นางมธุภานี เจ้ยชุม22 ธันวาคม 2563
22
ธันวาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย มธุภาณี เจ้ยชุม
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กระบวนการ
-ประสานงานกับ อปท.เพื่อแจ้ง จนท.ผู้รับผิดชอบงานและผู้เกี่ยวข้องทราบ
- ติดต่อสถานที่ประชุม การเยี่ยม ติดตาม นิเทศกองทุน
1. ทำแผนการเงินปีงบประมาณ 2564
2. สร้างความเข้าใจการทำแผนงาน/โครงการ /โครงการกองทุน ภายใต้หลักคิด หลักการ โดยใช้ ppt และhttps://localfund.happynetwork.org/ ดังนี้

หลักคิด
คณะกรรมการกองทุน เป็นกลไกกำหนดทิศทางสุขภาพของประชาชนในตำบล โดยมีแผนงานเป็นเครื่องมือไปสู่ทิศทาง/เป้าหมาย และมีโครงการเป็นเครื่องมือไปสู่ผลลัพธ์ตามเป้าหมาย

หลักการ
1. คณะกรรมการกองทุนมีหน้าที่พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนงาน โครงการ กิจกรรม ตามประกาศกองทุนข้อ 6 (1),(2)
2. การบริหารแผนงานโครงการโดยใช้หลักการตาม Ottawa Charter ด้วย 4 คำถามดังนี้
2.1 เราอยูู่ที่ไหน หมายถึงสถานาการณ์ ณ ปัจจุบัน ในที่นี้ คือข้อมูลขนาดปัญหา ในแผนงาน และหลักการและเหตุผลในโครงการ
2.2 เราจะไปไหน หมายถึงเป้าหมายในแผนงาน และผลลัพธ์ในโครงการ
2.3 เราจะไปอย่างไร หมายถึงแนวทางสู่เป้าหมายในแผนงาน และวิธีดำเนินการในโครงการ
2.4 เราไปถึงแล้วหรือยัง หมายถึงการทบทวนแผนงาน และการประเมินผลโครงการ
3. การใช้โปรแกรมบนเว้บไซต์เพื่อการบริหารจัดการกองทุน https://localfund.happynetwork.org/ ได้สร้างวามเข้าใจในการใช้โปรแกรมบนเว็บไซต์เป็นเครื่องมือบริหารจัดการกองทุน ตามกระบวนการดังนี้
3.1 การกำหนดแผนงาน โดยมีแผนงานที่เน้นการขับเคลื่อนเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ 5 แผนงานคือ
- แผนงานเหล้า
- แผนงานบุหรี่
- แผนงานสารเสพติด
- แผนงานอาหารปลอดภัย
- แผนงานกิจกรรมทางกาย
นอกจากนี้ก็พิจารณาจากสภาพปัญหาในพื้นที่
3.2 การการกำหนดประเด็นปัญหา จัดลำดับความสำคัญของประเด็นปัญหาในแต่ละแผนงาน
3.3 การกำหนดขนาดปัญหา บนพื้นฐานของข้อมูลที่เป็นจริงให้มากที่สุด
3.4 การกำหนดเป้าหมายที่ต้องไป
3.5 การเลือกแนวทางสู่เป้าหมาย
3.6 การกำหนดโครงการที่ควรจะทำเพื่อสู่เป้าหมาย
4. แนะนำการใช้โปรแกรมในเว็บ เพื่อการเลือกโครงการในแผนมาพัฒนา อนุมัติ ติดตาม และประเมินผล โดยจะได้ความสร้างความเข้าใจในดออกาสต่อไป
- สอบถาม ปัญหา อุปสรรค. ของการทำงาน กองทุนตำบล และกองทุน LTC.
- ชี้แจง เตรียมรับการประเมิน ใน รอบต่อไป

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต
- มีผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 15 คน จากเจ้าหน้าที่กองทุน คณะกรรมการกองทุน ฯ และผู้ขอรับงบประมาณจากกองทุน
ผลลัพธ์
-ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ ความเข้าใจในระเบียบ ฯ อำนาจหน้าที่ ของกองทุนฯ ได้ดีขึ้น
-ผู้เข้ารับการอบรม สามารถจัดทำแผนการเงิน ของกองทุน ฯ เพื่อนำไปเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการกองทุน ฯ ได้
-ผู้เข้ารับการอบรม สามารถจัดทำแผนงานบนระบบของเวปไซด์ ของ สปสช. เขต 12 ได้

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่1 ของ กองทุน ทต.ควนขนุน โดย นายสมนึก นุ่นด้วง8 ธันวาคม 2563
8
ธันวาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย สมนึก
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

พัฒนาสักยภาพการพัฒนาโครงการออนเว้บไซต์ แก่เจ้าหน้าที่กองทุน และภาคีที่ขอรับทุน (แกนนำ อสม เจ้าหนเาที่สาธารณสุข เจ้าหน้าที่ รพ.ควนขนุน)

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต
ผู้รับการพัฒนา 5 คน
ผลลัพธ์
ผู้รับการพัฒนาเข้าใจและสามารถทำตามตัวอย่างโครงการได้
ปัญหา : เทศบาลขาดสภาพคล่องทางการเงิน ยังไม่สามารถสนับสนุนเงิยสมทบแก่กองทุนได้

สนับสนุนการเขียนโครงการ / การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1 ของกองทุน ทต.หนองพ้อ โดย นางกาญจนา ผอมดำ7 ธันวาคม 2563
7
ธันวาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย ธมล มงคลศิลป์ Coach
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

แนะนำการลงระบบออนไลน์ ฝึกการเขียนโครงการให้หน่วยขอรับงบปะมาณกองทุน ออกรหัสให้หน่วยขอรับทุน ได้ดำเนินการผ่านระบบ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีผู้เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วย จนท.กองทุน ประธานกองทุน ทต.หนองพ้อ 2.ผู้เข้าประชุมได้ฝึกการเขียนโครงการพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ โดยมีโครงการแก้ไขตามปัญหา ได้ถูกต้อง 3.ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้เรียนรู้การลงกิจกรรมในเวปไซต์กองทุนสุขภาพตำบล ได้ถูกต้อง

สนับสนุนการจัดทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพ และแผนการเงิน ของกองทุน เทศบาลตำบลปรางหมู่ โดย นางสาวธมล มงคลศิลป์5 ธันวาคม 2563
5
ธันวาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย ธมล มงคลศิลป์ Coach
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กระบวนการ -ประสานงานกับ อปท.เพื่อแจ้ง จนท.ผู้รับผิดชอบงานและผู้เกี่ยวข้องทราบ - ติดต่อสถานที่ประชุม การเยี่ยม ติดตาม นิเทศกองทุน 1. ทำแผนการเงินปีงบประมาณ 2564
2. สร้างความเข้าใจการทำแผนงาน/โครงการ /โครงการกองทุน ภายใต้หลักคิด หลักการ โดยใช้ ppt และhttps://localfund.happynetwork.org/ ดังนี้

หลักคิด
คณะกรรมการกองทุน เป็นกลไกกำหนดทิศทางสุขภาพของประชาชนในตำบล โดยมีแผนงานเป็นเครื่องมือไปสู่ทิศทาง/เป้าหมาย และมีโครงการเป็นเครื่องมือไปสู่ผลลัพธ์ตามเป้าหมาย

หลักการ
1. คณะกรรมการกองทุนมีหน้าที่พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนงาน โครงการ กิจกรรม ตามประกาศกองทุนข้อ 6 (1),(2)
2. การบริหารแผนงานโครงการโดยใช้หลักการตาม Ottawa Charter ด้วย 4 คำถามดังนี้
  2.1 เราอยูู่ที่ไหน หมายถึงสถานาการณ์ ณ ปัจจุบัน ในที่นี้ คือข้อมูลขนาดปัญหา ในแผนงาน และหลักการและเหตุผลในโครงการ
  2.2 เราจะไปไหน หมายถึงเป้าหมายในแผนงาน และผลลัพธ์ในโครงการ
  2.3 เราจะไปอย่างไร หมายถึงแนวทางสู่เป้าหมายในแผนงาน และวิธีดำเนินการในโครงการ
  2.4 เราไปถึงแล้วหรือยัง หมายถึงการทบทวนแผนงาน และการประเมินผลโครงการ
3. การใช้โปรแกรมบนเว้บไซต์เพื่อการบริหารจัดการกองทุน https://localfund.happynetwork.org/ ได้สร้างวามเข้าใจในการใช้โปรแกรมบนเว็บไซต์เป็นเครื่องมือบริหารจัดการกองทุน ตามกระบวนการดังนี้
  3.1 การกำหนดแผนงาน โดยมีแผนงานที่เน้นการขับเคลื่อนเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ 5 แผนงานคือ
  - แผนงานเหล้า
  - แผนงานบุหรี่
  - แผนงานสารเสพติด
  - แผนงานอาหารปลอดภัย
  - แผนงานกิจกรรมทางกาย
  นอกจากนี้ก็พิจารณาจากสภาพปัญหาในพื้นที่
  3.2 การการกำหนดประเด็นปัญหา จัดลำดับความสำคัญของประเด็นปัญหาในแต่ละแผนงาน
  3.3 การกำหนดขนาดปัญหา บนพื้นฐานของข้อมูลที่เป็นจริงให้มากที่สุด
  3.4 การกำหนดเป้าหมายที่ต้องไป
  3.5 การเลือกแนวทางสู่เป้าหมาย
  3.6 การกำหนดโครงการที่ควรจะทำเพื่อสู่เป้าหมาย
4. แนะนำการใช้โปรแกรมในเว็บ เพื่อการเลือกโครงการในแผนมาพัฒนา อนุมัติ ติดตาม และประเมินผล โดยจะได้ความสร้างความเข้าใจในดออกาสต่อไป - สอบถาม ปัญหา อุปสรรค. ของการทำงาน กองทุนตำบล และกองทุน LTC. - ชี้แจง เตรียมรับการประเมิน ใน รอบต่อไป

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต คณะกรรมการ เจ้าหน้าที่กองทุน และผู้รับทุนได้เข้าร่วมเรียนรู้ จำนวน 15 คน
ผลลัพธ์
คณะกรรมการกองทุน ให้ความสนใจในการผลักดันให้เกิดแผนงาน และโครงการที่มีคุณภาพ และขับเคลื่อนการจัดการโดยใช้เว็บกองทุนตามลำดับ

สนับสนุนการจัดทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพ และแผนการเงิน ของกองทุน เทศบาลตำบลทะเลน้อย โดย นางสาวปรียาภรณ์ คงผอม5 ธันวาคม 2563
5
ธันวาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย ธมล มงคลศิลป์ Coach
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ลงพื้นที่เพื่อทบทวนระเบียบฯ อำนาจหน้าที่ให้กับคณะกรรมการกองทุน ฯ ทต.ทะเลน้อย ด้วยการชี้แจงระเบียบฯ อำนาจหน้าที่แบบสรุป ด้วยการอธิบายผ่านทาง ภาพนิ่ง 2.สนับสนุนการจัดทำแผนสุขภาพ ด้วยการจัดให้ที่ประชุมได้นำเสนอข้อมูลด้านสุขภาพของตำบล ตลอดจนปัญหาต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ และนำมาจัดเรียงลำดับความสำคัญของปัญหา 3.เมื่อได้ลำดับความสำคัญของปัญหา แล้วนำปัญหานั้นมาจัดตามแผนงานด้านสุขภาพ บนระบบของเวปไซด์ของกองทุน ฯ โดยการสอนขั้นตอนวิธีทำแผนงานดังกล่าว 4.สอนวิธีการจัดทำแผนการเงินของกองทุน ฯ เพื่อให้คณะกรรมการกองทุนฯ ได้เข้าใจวิธีการทำ เพื่อจะได้เสนอที่ประชุมคณะกรรมการกองทุน ฯ ต่อไป

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต
- มีผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 26 คน จากคณะกรรมการกองทุน ฯ และผู้ขอรับงบประมาณจากกองทุน
ผลลัพธ์ -ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ ความเข้าใจในระเบียบ ฯ อำนาจหน้าที่ ของกองทุนฯ ได้ดีขึ้น -ผู้เข้ารับการอบรม สามารถจัดทำแผนการเงิน ของกองทุน ฯ เพื่อนำไปเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการกองทุน ฯ ได้ -ผู้เข้ารับการอบรม สามารถจัดทำแผนงานบนระบบของเวปไซด์ ของ สปสช. เขต 12 ได้

สนับสนุนการจัดทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพ และแผนการเงิน ของกองทุน เทศบาลตำบลหารเทา โดย นายเสงี่ยม ศรีทวี1 ธันวาคม 2563
1
ธันวาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย นายเสงี่ยม ศรีทวี
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-ประสานงานกับ อปท.เพื่อแจ้ง จนท.ผู้รับผิดชอบงานและผู้เกี่ยวข้องทราบ - ติดต่อสถานที่ประชุม การเยี่ยม ติดตาม นิเทศกองทุน - ได้เข้าร่วมประชุม และให้คำแนะนำแก่ คณะกรรมการกองทุน ที่ประชุม ดำเนินการประชุมดังนี้
1. ติดตามการดำเนินงานโครงการปี 2563
2. รับรองรายงานการเงิน
3. ทำแผนการเงินปีงบประมาณ 2564
4. สร้างความเข้าใจการทำแผนงาน/โครงการ /โครงการกองทุน ภายใต้หลักคิด หลักการ โดยใช้ ppt และhttps://localfund.happynetwork.org/ ดังนี้

หลักคิด
คณะกรรมการกองทุน เป็นกลไกกำหนดทิศทางสุขภาพของประชาชนในตำบล โดยมีแผนงานเป็นเครื่องมือไปสู่ทิศทาง/เป้าหมาย และมีโครงการเป็นเครื่องมือไปสู่ผลลัพธ์ตามเป้าหมาย

หลักการ
1. คณะกรรมการกองทุนจึงมีหน้าที่พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนงาน โครงการ กิจกรรม ตามประกาศกองทุนข้อ 6 (1),(2)
2. การบริหารแผนงานโครงการโดยใช้หลักการตาม Ottawa Charter ด้วย 4 คำถามดังนี้
2.1 เราอยูู่ที่ไหน หมายถึงสถานาการณ์ ณ ปัจจุบัน ในที่นี้ คือข้อมูลขนาดปัญหา ในแผนงาน และหลักการและเหตุผลในโครงการ
2.2 เราจะไปไหน หมายถึงเป้าหมายในแผนงาน และผลลัพธ์ในโครงการ
2.3 เราจะไปอย่างไร หมายถึงแนวทางสู่เป้าหมายในแผนงาน และวิธีดำเนินการในโครงการ
2.4 เราไปถึงแล้วหรือยัง หมายถึงการทบทวนแผนงาน และการประเมินผลโครงการ
3. การใช้โปรแกรมบนเว้บไซต์เพื่อการบริหารจัดการกองทุน https://localfund.happynetwork.org/ ได้สร้างวามเข้าใจในการใช้โปรแกรมบนเว็บไซต์เป็นเครื่องมือบริหารจัดการกองทุน ตามกระบวนการดังนี้
3.1 การกำหนดแผนงาน โดยมีแผนงานที่เน้นการขับเคลื่อนเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ 5 แผนงานคือ
- แผนงานเหล้า
- แผนงานบุหรี่
- แผนงานสารเสพติด
- แผนงานอาหารปลอดภัย
- แผนงานกิจกรรมทางกาย
นอกจากนี้ก็พิจารณาจากสภาพปัญหาในพื้นที่
3.2 การการกำหนดประเด็นปัญหา จัดลำดับความสำคัญของประเด็นปัญหาในแต่ละแผนงาน
3.3 การกำหนดขนาดปัญหา บนพื้นฐานของข้อมูลที่เป็นจริงให้มากที่สุด
3.4 การกำหนดเป้าหมายที่ต้องไป
3.5 การเลือกแนวทางสู่เป้าหมาย
3.6 การกำหนดโครงการที่ควรจะทำเพื่อสู่เป้าหมาย
4. แนะนำการใช้โปรแกรมในเว็บ เพื่อการเลือกโครงการในแผนมาพัฒนา อนุมัติ ติดตาม และประเมินผล โดยจะได้ความสร้างความเข้าใจในดออกาสต่อไป - สอบถาม ปัญหา อุปสรรค. ของการทำงาน กองทุนตำบล และกองทุน LTC. - ชี้แจง เตรียมรับการประเมิน ใน รอบต่อไป

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต
คณะกรรมการ เจ้าหน้าที่กองทุน และผู้รับทุนได้เข้าร่วมเรียนรู้ จำนวน 20คน
ผลลัพธ์
คณะกรรมการกองทุน ให้ความสนใจในการผลักดันให้เกิดแผนงาน และโครงการที่มีคุณภาพ และขับเคลื่อนการจัดการโดยใช้เว็บกองทุนตามลำดับ

สนับสนุนการจัดทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพ และแผนการเงิน ของกองทุน เทศบาลตำบลหานโพธิ์ โดย นายประเทือง อมรวิริยะชัย30 พฤศจิกายน 2563
30
พฤศจิกายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย เทือง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ประสาน จนท.ฝ่ายสาธารณสุข อบต.หานโพธิ์ เพื่อนัดวัน เวลา ในการประชุมโดยให้นัด คณะกรรมการกองทุนที่จะขอรับทุนมาร่วมประชุมด้วย

2.วันประชุม เริ่มเวลา 13.00 น. โดยคณะกรรมการกองทุนกล่าวเปิดการประชุม และกล่าวต้อนรับพี่เลี้ยง

3.พี่เลี้ยงดำเนินการชี้แจงที่นัดประชุมในวันนี้

4.ดำเนินการ ให้ จนท.ฝ่ายสาธารณสุข ของ อบต.หานโพธิ์ ชี้แจงการจัดทำแผนสุขภาพ ของกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.หานโพธิ์

5.พี่เลี้ยงร่วมกับผู้เข้าร่วมประชุม ได้ทบทวนแผนสุขภาพ/แผนการเงิน และให้ดำเนินการในส่วนที่ขาดยุ เช่นข้อมูลสถานการณ์ /ข้อมูลทางการเงิน และให้รวบรวมดำเนินการคีย์ข้อมูลในเวปไซต์ด้วย

6.พี่เลี้ยงได้ให้คำแนะนำการพัฒนาโครงการบนเวปไซต์แบบออนไลน์ www.localfund.happynetwork.org โดยให้ออกรหัสลอคอินสำหรับผู้ขอรับทุกทุกหน่วยงาน/องค์กร

7.ให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้ทดลองฝึกการใช้งานเวปไซต์ แบบออนไลน์ www.localfund.happynetwork.org และทดลองพัฒนาโครงการบนเวปไซต์ด้วย

8.เปิดโอกาศให้ผู้เข้าร่วมประชุมซักถามทั่วๆไป เช่น กองทุน LTC/ระเบียบการใช้เงินกองทุน เป็นต้น ปิดประชุมเวลา 16.00 น.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 8 คน ประกอบด้วย ปลัดอบต./หัวหน้าสำนักปลัด/นวก.สาธารณสุข อบต.หานโพธิ์ และ ผู็ขอรับทุน

2.ได้ดำเนินการเพื่อทบทวนแผนสุขภาพของกองทุนฯตามปัญหาสำคัญ คือ แผนอาหารและโภชนาการ แผนปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ เช่น เหล้า บุหรี่ สารเสพติด แผนกิจกรรมทางกาย แผนสุขภาพอื่นที่สอดคล้องกับพื้นที่ ให้มีข้อมูลสถานการณ์ปัญหาสุขภาพของพื้นที่ การตั้งเป้าหมาย การตั้งวงเงินงบประมาณ และการมีโครงการที่ควรดำเนินการระบุในแผนสุขภาพ

3.ได้ดำเนินการทบทวนแผนการเงินของกองทุน โดยต้องรวบรวมจากแผนงาน/โครงการทั้งหมด

4.ผู้เข้าร่วมประชุมได้ฝึกการใช้งานเวปไซต์แบบออนไลน์ www.localfund.happynetwork.org

5.ผู้เข้าร่วมประชุมได้ฝึกการพัฒนาโครงการบนเวปไซต์ แบบออนไลน์ www.localfund.happynetwork.org

6.ได้นัดวันเวลาการประชุมครั้งต่อไป เพื่อพัฒนาโครงการ ในวันที่ 23 ธันวาคม 2563

สนับสนุนการจัดทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพ และแผนการเงิน ของกองทุน เทศบาลตำบลนาโหนด โดย นางกชกานต์ คงชู30 พฤศจิกายน 2563
30
พฤศจิกายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย ธมล มงคลศิลป์ Coach
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ลงกองทุนเพื่อแนะนำการทำงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ทต.นาโหนด เพื่อสนับสนุนการจัดทำแผนการเงิน แผนงานของกองทุน โดยได้แนะนำการดำเนินการบนเวปไซด์ของกองทุน ฯ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าที่กองทุน เข้าใจและมีความรู้ในการจัดทำแผนงาน ของกองทุน

สนับสนุนการจัดทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพ และแผนการเงิน ของกองทุน เทศบาลตำบลหนองพ้อ โดย นางกาญจนา ผอมดำ11 พฤศจิกายน 2563
11
พฤศจิกายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย ธมล มงคลศิลป์ Coach
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

แนะนำการลงระบบออนไลน์ การเปิดแผนกองในในระบบ ฝึกการเขียนโครงการให้หน่วยขอรับงบปะมาณกองทุน ออกรหัสให้หน่วยขอรับทุน ได้ดำเนินการผ่านระบบ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีผู้เข้าร่วมประชุม 35 คน ประกอบด้วย จนท.จาก รพ.สต. โรงเรียน กลุ่มอาชีพ ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จนท.จาก  ทต.หนองพ้อ 2.ผู้เข้าอบรมได้ฝึกการเขียนโครงการพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ โดยมีโครงการแก้ไขตามปัญหาของแต่ละกลุ่ม ได้ถูกต้อง 3.ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้เรียนรู้การลงกิจกรรมในเวปไซต์กองทุนสุขภาพตำบล ได้ถูกต้อง

สนับสนุนการจัดทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพ และแผนการเงิน ของกองทุน เทศบาลตำบลควนขนุน โดย นายสมนึก นุ่นด้วง29 ตุลาคม 2563
29
ตุลาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย สมนึก
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เวลา 09.30 น. คณะกรรมการกองทุนครบองค์ประชุม เลือกนายวิเวก ทิวทัศน์ เป็นประธานที่ประชุม ดำเนินการประชุมตาวาระดังนี้
1. ติดตามการดำเนินงานโครงการปี 2563
2. รับรองรายงานการเงิน
3. ทำแผนการเงินปีงบประมาณ 2564
4. สร้างความเข้าใจการทำแผนงาน/โครงการ ที่ประชุมมอบนายสมนึก นุ่นด้วย คณะทำงานสนับสนุนกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ดำเนินการสร้างความเข้าใจการทำแผนงาน /โครงการกองทุน ภายใต้หลักคิด หลักการ โดยใช้ ppt และhttps://localfund.happynetwork.org/ ดังนี้

หลักคิด
  คณะกรรมการกองทุน เป็นกลไกกำหนดทิศทางสุขภาพของประชาชนในตำบล โดยมีแผนงานเป็นเครื่องมือไปสู่ทิศทาง/เป้าหมาย และมีโครงการเป็นเครื่องมือไปสู่ผลลัพธ์ตามเป้าหมาย

หลักการ
  1. คณะกรรมการกองทุนจึงมีหน้าที่พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนงาน โครงการ กิจกรรม ตามประกาศกองทุนข้อ 6 (1),(2)
  2. การบริหารแผนงานโครงการโดยใช้หลักการตาม Ottawa Charter ด้วย 4 คำถามดังนี้
    2.1 เราอยูู่ที่ไหน หมายถึงสถานาการณ์ ณ ปัจจุบัน ในที่นี้ คือข้อมูลขนาดปัญหา ในแผนงาน และหลักการและเหตุผลในโครงการ
    2.2 เราจะไปไหน หมายถึงเป้าหมายในแผนงาน และผลลัพธ์ในโครงการ
    2.3 เราจะไปอย่างไร หมายถึงแนวทางสู่เป้าหมายในแผนงาน และวิธีดำเนินการในโครงการ
    2.4 เราไปถึงแล้วหรือยัง หมายถึงการทบทวนแผนงาน และการประเมินผลโครงการ
  3. การใช้โปรแกรมบนเว้บไซต์เพื่อการบริหารจัดการกองทุน https://localfund.happynetwork.org/ ได้สร้างวามเข้าใจในการใช้โปรแกรมบนเว็บไซต์เป็นเครื่องมือบริหารจัดการกองทุน ตามกระบวนการดังนี้
    3.1 การกำหนดแผนงาน โดยมีแผนงานที่เน้นการขับเคลื่อนเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ 5 แผนงานคือ
      - แผนงานเหล้า
      - แผนงานบุหรี่
      - แผนงานสารเสพติด
      - แผนงานอาหารปลอดภัย
      - แผนงานกิจกรรมทางกาย
      นอกจากนี้ก็พิจารณาจากสภาพปัญหาในพื้นที่
    3.2 การการกำหนดประเด็นปัญหา จัดลำดับความสำคัญของประเด็นปัญหาในแต่ละแผนงาน
    3.3 การกำหนดขนาดปัญหา บนพื้นฐานของข้อมูลที่เป็นจริงให้มากที่สุด
    3.4 การกำหนดเป้าหมายที่ต้องไป
    3.5 การเลือกแนวทางสู่เป้าหมาย
    3.6 การกำหนดโครงการที่ควรจะทำเพื่อสู่เป้าหมาย
4. แนะนำการใช้โปรแกรมในเว็บ เพื่อการเลือกโครงการในแผนมาพัฒนา อนุมัติ ติดตาม และประเมินผล โดยจะได้ความสร้างความเข้าใจในดออกาสต่อไป

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต
คณะกรรมการ เจ้าหน้าที่กองทุน และผู้รับทุนได้เข้าร่วมเรียนรู้ จำนวน 20คน

ผลลัพธ์
คณะกรรมการกองทุน ให้ความสนใจในการผลักดันให้เกิดแผนงาน และโครงการที่มีคุณภาพ และจัขับเคลื่อนการจัดการโดยใช้เว็บกองทุนตามลำดับ