กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาสนามเด็กเล่นเพื่อส่งเสริมสุขภาพนักเรียน
รหัสโครงการ 64-L5182-02-5
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านนาหว้า (นิคมอุทิศ)
วันที่อนุมัติ 21 ธันวาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 มกราคม 2564 - 28 เมษายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 21,645.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวเรืองไร ผดุงศักดิ์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนบ้านนาหว้า (นิคมอุทิศ) ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 24 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 33 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของนักเรียนที่มีสมรรถนะทางกายและภาวะการเจริญเติบโตสมวัย
60.00
2 ร้อยละของเวลาในโรงเรียนมีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning
10.00
3 ร้อยละของเด็กนักเรียน ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)
60.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วยปัจจุบันโรงเรียนบ้านนาหว้า (นิคมอุทิศ) มีนักเรียนทั้งหมด 37 คน เป็นนักเรียนชั้นปฐมวัย จำนวน 9 คน ระดับประถมศึกษา จำนวน 28 คน มีภาวะร่างกายตามหลักโภชนาการเป็นไปตามปกติ แต่มีสมรรถนะทางร่ายกายและการเจริญเติบโตสมวัย คิดเป็นร้อยละ 60 เนื่องจากนักเรียนไม่ได้รับการพัฒนาสมรรถนะทางร่ายกายอย่างเพียงพอและเหมาะสม สาเหตุที่สำคัญเกิดจากทางโรงเรียนยังขาดแคลนสนามเด็กเล่นที่มีความสมบูรณ์ เนื่องจากสนามเด็กเล่นชำรุด ผุพัง ขึ้นสนิม เกินกว่าการซ่อมแซม เสี่ยงต่อการใช้ประโยชน์การเล่น ซึ่งทางโรงเรียนได้พยายามฝึกประสบการณ์ด้วยการละเล่นพื้นบ้านหรือวิธีอื่นๆ ในการนี้เพื่อให้เกิดความสมบูรณ์และสามารถพัฒนาสมรรถนะทางกายและการเจริญเติบโตให้สมวัยของนักเรียนระดับปฐมวัยและรพับประถมศึกษาให้มีร้อยละในการพัฒนาในระดับที่สูงขึ้น แต่ยังไม่เป็นไปตามที่คาดหวัง ทั้งเพื่อเป็นการให้สอดคล้องตอบสนองกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 การพัฒนาเด็กให้ครบทั้ง 4 ด้าน คือ ร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาเป็นสิ่งสำคัญสำหรับเด็ก ทางโรงเรียนเห็นว่าสนามเด็กเล่นในโรงเรียนมีความสำคัญมากต่อพัฒนาการดังกล่าวของนักเรียน จึงห็นควรให้มีการปรับปรุงพื้นที่สนามเด็กเล่น จัดซื้อเครื่องเล่นสนาม และจัดทำเครื่องเล่นสนามโดยใช้วัสดุท้องถิ่นที่มีความคงทน ราคาถูก ปลอดภัย จัดทำอย่างมีส่วนร่วมระหว่างโรงเรียนและชุมชน ทั้งยังเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่เข้มแข็งระหว่างโรงเรียนและชุมชน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้นักเรียนมีสมรรถนะทางกายและภาวะการเจริญเติบโตสมวัย

ร้อยละของนักเรียนที่มีสมรรถนะทางกายและภาวะการเจริญเติบโตสมวัยเพิ่มขึ้น

60.00 80.00
2 ร้อยละของเวลาในโรงเรียนมีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning)

ร้อยละของเวลาในโรงเรียนมีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning)เพิ่มขึ้น

10.00 25.00
3 ร้อยละของเด็กนักเรียน ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)

ร้อยละของเด็กนักเรียน ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน) เพิ่มขึ้น

60.00 80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 150 21,645.00 5 21,645.00
15 ม.ค. 64 ประชุมคณะทำงาน 13 325.00 325.00
23 ม.ค. 64 การขับเคลื่อนกระบวน นโยบายของโรงเรียนส่งเสริมสุขเพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกาย 50 14,370.00 14,370.00
23 ม.ค. 64 อบรมเชิงปฏิบัติการปฏิบัติการออกกำลังกายและเครื่องเล่นสนามกับพัฒนาการของนักเรียนพร้อมจัดทำเครื่องเล่นสนามจากวัสดุท้องถิ่น 50 6,250.00 6,250.00
23 ม.ค. 64 - 23 เม.ย. 64 ประเมินภาวะสุขภาพ จากน้ำหนักและส่่วนสูงของนักเรียน 24 0.00 0.00
28 เม.ย. 64 ติดตาม ตรวจสอบผลการดำเนินโครงการ 13 700.00 700.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. นักเรียนมีการพัฒนาศักยภาพด้านสมองของเด็กจากการเคลื่อนไหว มีพัฒนาการทุกด้านเหมาะสมตามวัย
  2. นักเรียนได้ฝึกความสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเนื้อมัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่ มีสมรรถนะทางกายและภาวะการเจริญเติบโตสมวัย
  3. นักเรียนมีเครื่องเล่นสนามที่เหมาะสมตามวัยมีความปลอดภัย
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 30 ต.ค. 2563 10:41 น.