กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่
รหัสโครงการ 64-L4115-04-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขาฯกองทุน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สำนักงานเลขานุการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลห้วยกระทิง
วันที่อนุมัติ 9 พฤศจิกายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 63,740.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวนนท์นราพร เพชรมณี(เลขานุการกองทุนฯ)
พี่เลี้ยงโครงการ มาเรียม
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลห้วยกระทิง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 28 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] :

ระบุ

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ นับเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทยในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ และประสานหน่วยงานองค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ ที่เกี่ยวกับการสร้างสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพ ที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยได้มีการนำแผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map) หรือแผนสุขภาพชุมชนมาเป็นเครื่องมือบริหารการเปลี่ยนแปลง การบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่แบบบูรณาการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคและการติดตามผลการดำเนินงานกองทุนสุขภาพฯ พร้อมทั้งการค้นหากองทุนฯ ต้นแบบที่มีผลงานดีเด่นด้านการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพทั้งนี้เริ่มต้นตั้งแต่ ปี 2549 จนถึงปีปัจจุบัน ปี 2564

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 157 63,740.00 0 0.00
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 ประชุมคณะกรรมการกองทุนและที่ปรึกษากองทุน ครั้งที่ 1 17 6,800.00 -
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 ประชุมคณะกรรมการกองทุนและที่ปรึกษากองทุน ครั้งที่ 2 17 6,800.00 -
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 ประชุมคณะกรรมการกองทุนและที่ปรึกษากองทุน ครั้งที่ 3 17 6,800.00 -
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 ประชุมคณะกรรมการกองทุนและที่ปรึกษากองทุน ครั้งที่ 4 17 6,800.00 -
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 .กิจกรรมย่อย ประชุมคณะอนุกรรมการ/คณะทำงานกองทุน(LTC) ครั้งที่ 1 11 2,200.00 -
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 กิจกรรมย่อย ประชุมคณะอนุกรรมการ/คณะทำงานกองทุน(LTC )ครั้งที่ 2 11 2,200.00 -
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 ค่าตอบแทนคณะทำงานด้านการเงินและพัสดุ 3 2,400.00 -
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 จัดซื้อวัสดุ/ครุภัณฑ์เพื่อการดำเนินงานกองทุนฯ 17 5,000.00 -
1 ต.ค. 63 - 30 ต.ค. 64 พัฒนาศักยภาพ จนท.กองทุน กลุ่ม องค์กร และหน่วยงานต่างๆ จัดทำเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำแผนสุขภาพตำบล และการบันทึกข้อมูล 30 21,000.00 -
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 พัฒนาศักยภาพ จนท.กองทุน อบรม ค่าลงทะเบียน ค่าเดินทางไปราชการ และอื่นๆ 17 3,740.00 -

วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด) 1. ขั้นตอนวางแผนงาน - ร่วมกันประชุมวางแผน กำหนดร่างวาระในการประชุม จำนวนคณะกรรมการคณะอนุกรรมการ    และคณะทำงาน - กำหนดวันประชุมตลอดปีงบประมาณ 2. ขั้นตอนการดำเนินงาน
- ติดต่อประสานงานกับคณะกรรมการ เพื่อกำหนดนัดหมาย - จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ประกอบการดำเนินงาน - จัดเตรียมค่าใช้จ่ายในการประชุม เช่น ค่าตอบแทนกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำงาน  ค่าลงทะเบียน ค่าเดินทางไปราชการ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม อาหารกลางวัน - จัดเตรียมสถานที่ในการประชุม - จัดอบรมเพิ่มประสิทธิภาพการเขียนโครงการด้านสุขภาพผู้ขอรับงบประมาณสนับสนุนและภาคี เครือข่ายในพื้นที่ เช่น ค่าวิทยากร ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม อาหารกลางวัน วัสดุอุปรณ์ 3. ดำเนินการจัดประชุมตามแผนงานและวาระที่กำหนด - จัดประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษา อย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี - จัดประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน/คณะทำงาน อย่างน้อย 2 ครั้ง/ปี - จัดประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน/คณะทำงานเพื่อการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(LTC)อย่างน้อย2ครั้ง/ปี - สรุปผลการประชุมและมติคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงาน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. แผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
  2. การรับเงินการจ่ายเงินการเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 พ.ย. 2563 16:27 น.