กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ อสม.น้อย ร่วมมือ ร่วมใจ ป้องกันภัยไข้เลือดออก
รหัสโครงการ 64-L5272-2-1
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนวัดชลธารประสิทธิ์
วันที่อนุมัติ 3 พฤศจิกายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 4,250.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ น.ส.วนัสนันทน์ แก้ววงศ์ศรี
พี่เลี้ยงโครงการ คุณดวงใจ อ่อนแก้ว
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคูเต่า อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.133,100.481place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ , แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานความปลอดภัยทางถนน , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 53 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

ระบุ

กลุ่มวัยทำงาน 11 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในปีที่ผ่านมาพบว่าอัตราผู้ป่วยและเสียชีวิตเนื่องจากโรคไข้เลือดออกทุกปี กลุ่มอายุที่พบว่ามีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้เลือดออกสูง ได้แก่กลุ่มเด็กอายุตำ่กว่า 14 ปี ซึ่งเด็กอยู่ทั้งที่บ้านชุมชนและโรงเรียน ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการป้องกันโรคโดยการป้องกันการติดเชื้อโรคไข้เลือดออกทั้งที่บ้านและโรงเรียน วิธีป้องกันได้ดีที่สุดคือการควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ซึ่งต้องปฏิบัติกันอย่างทั่วถึงไม่เฉพาะในครัวเรือน แต่ควรจะควบคุมทุกสถานที่ในชุมชนเป็นวงกว้างจึงจำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างองค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนทุกคน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน

 

0.00
2 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

-จัดกิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้การควบคุมและป้องกันไข้เลือดออก -นักเรียนสำรวจลูกน้ำยุงลายสัปดาห์ละ1ครั้ง -ประเมินและสรุปผล

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในโรงเรียน 2.นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก 3.ลดอัตราการป่วยโดยมียุงเป็นพาหนะ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 พ.ย. 2563 09:11 น.