กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด


“ โครงการ ควบคุม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่เทศบาลตำบล คลองขุด ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ”

ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางเกศวรางค์ สารบัญ

ชื่อโครงการ โครงการ ควบคุม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่เทศบาลตำบล คลองขุด ปีงบประมาณ พ.ศ.2564

ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5300-5-1 เลขที่ข้อตกลง 2/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 พฤศจิกายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ควบคุม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่เทศบาลตำบล คลองขุด ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ควบคุม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่เทศบาลตำบล คลองขุด ปีงบประมาณ พ.ศ.2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ควบคุม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่เทศบาลตำบล คลองขุด ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64-L5300-5-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 พฤศจิกายน 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเปลี่ยนแปลงในหลายด้าน อาทิ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม รวมทั้งการดำรงชีวิต ในวิถีชีวิตความเป็นอยู่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ประชาชนส่วนมากต้องดิ้นรนเพื่อการอยู่รอดในสังคม จนลืมดูแลสุขภาพ ทำให้การเกิดโรคต่างๆ ทั้งโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อ หรือโรคที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและจากโรคติดต่อที่ไม่มีความรุนแรง หรือไม่มีภาวะแทรกซ้อนเป็นโรคที่มีภาวะแทรกซ้อนมากขึ้นหรือโรคติดต่ออุบัติใหม่นั่นเองโรคติดต่ออุบัติใหม่ หมายถึง โรคติดต่อที่เกิดขึ้นในมนุษย์ เป็นโรคติดเชื้อชนิดใหม่ เช่น โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (โควิด-19) รวมถึงโรคติดต่ออุบัติซ้ำ ซึ่งก็คือโรคติดต่อจากเชื้อโรคที่เคยแพร่ระบาดได้กลับมาระบาดใหม่ เช่น โรคซาร์ส โรคไข้หวัดนก โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ โรคติดเชื้อมือ เท้า ปาก โรคไข้เลือดออก เป็นต้น และยังมีภัยพิบัติในปัจจุบัน ทั้งจากภัยธรรมชาติ และภัยที่เกิดขึ้นจากการกระทำของมนุษย์ที่เกิดขึ้นบ่อย และทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ได้สร้างความสูญเสียอย่างมหาศาลต่อความปลอดภัยในการดำรงชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ซึ่งเป็นผลกระทบโดยตรง ผลกระทบทางอ้อมต่อประชาชนในพื้นที่ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลคลองขุด ได้เล็งเห็นความสำคัญ จึงได้จัดทำโครงการควบคุม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อลดความเสี่ยง และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดต่อหรือภัยพิบัติในพื้นที่เทศบาลตำบลคลองขุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดต่อหรือภัยพิบัติในพื้นที่เทศบาลตำบลคลองขุด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การให้ความรู้ การรณรงค์ประชาสัมพันธ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 19,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

สามารถลดความเสี่ยง และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดต่อหรือภัยพิบัติในพื้นที่เทศบาลตำบลคลองขุด


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การให้ความรู้ การรณรงค์ประชาสัมพันธ์

วันที่ 29 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.แกนนำสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ลงสำรวจประชาชนที่ได้รับผลกระทบและแนะนำการป้องกันโรค
2.สนับสนุนเวชภัณฑ์และอุปกรณ์สำหรับการป้องกันโรค 3. การให้ความรู้ การรณรงค์ประชาสัมพันธ์เพื่อให้เกิดความตระหนักของประชาชนผ่านไวนิลและสื่อต่าง ๆ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต สามารถลดปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นและบรรเทาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดต่อหรือภัยพิบัติในพื้นที่เทศบาลตำบลคลองขุด ร้อยละ 50 ผลลัพธ์ สามารถลดความเสี่ยง และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดต่อหรือภัยพิบัติในพื้นที่เทศบาลตำบลคลองขุด

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลคลองขุด ได้รับการพิจารณาอนุมัติและให้มีการจัดทำโครงการ ควบคุม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ เทศบาลตำบลคลองขุด ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลคลองขุด ประเภทที่ 5 กรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ จำนวน 30,000 บาท (สามหมื่นบาทถ้วน) และเนื่องจากเกิดการระบาดระลอกใหม่ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้ขยายขอบเขตการแพร่โรคออกเป็นวงกว้างกระจายไปในหลายเขตพื้นที่ และจากการตรวจพบผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อรายใหม่ โดยเฉพาะกรณีที่เป็นการติดเชื้อภายในประเทศมีจำนวนเพิ่มสูงขึ้นในแต่ละวัน ประกอบกับมีการเดินทางของบุคคลจากเขตพื้นที่สถานการณ์ที่กำหนดให้เป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด ซึ่งโดยส่วนใหญ่ไม่ปรากฏอาการของโรคแพร่ออกไปในลักษณะที่เป็นกลุ่มก้อน นอกจากนี้ยังพบว่ามีผู้ติดเชื้อบางส่วนปกปิดข้อมูลการเดินทางทำให้ขั้นตอนการสวบสวนโรคล่าช้าและเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องจนเป็นผลให้เกิดการแพร่ระบาดในวงกว้าง
จังหวัดสตูลจึงได้ออกคำสั่งจังหวัดสตูล ที่ 42/2564 ลงวันที่ 7 มกราคม 2564 เรื่องมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) จังหวัดสตูล ข้อ 6 ห้ามมิให้มีการจัดกิจกรรมที่มีการรวมตัวของคนจำนวนมาก/แออัด เว้นแต่เป็นกิจกรรมที่จัดในโรงแรม สถานที่ส่วนบุคคล และผู้จัดสามารถระบุผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ชัดเจน และไม่มีความเกี่ยวพันกับผู้ที่เดินทางมาจากเขตพื้นที่ควบคุมสูงสุด ไม่มีการจัดกิจกรรมและพื้นที่ที่ให้มีการเต้น หรือการแสดงอื่นใดที่มีการสัมผัสใกล้ชิด ทั้งนี้การจัดกิจกรรมที่มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมมากกว่า 100 คน (หนึ่งร้อยคน) ให้ยื่นขออนุญาตต่อนายอำเภอท้องที่ ในเขตพื้นที่จังหวัดสตูล และต้องได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการควบคุมโรคติดต่อจังหวัดสตูล โดยให้ผู้จัดกิจกรรมทำหนังสือยื่นขอต่อคณะกรรมการควบคุมโรคติดต่อจังหวัดสตูล พร้อมแนบแผนการจัดกิจกรรมและมาตรการป้องกันและควบคุมโรค ซึ่งในเขตเทศบาลตำบลคลองขุดมีการจัดงานแต่งงาน งานบุญ งานบวช และงานอื่น ๆ ที่มีการรวมตัวของประชาชนจำนวนมาก ส่งผลให้เกิดความเสี่ยงที่จะเกิดการติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ได้จึงได้จัดซื้อเครื่องวัดอุณหภูมิอินฟาเรด ชนิดใช้ฝ่ามือ พร้อมขาตั้ง จำนวน 3 ชุด และที่กดแอลกอฮอล์ล้างมือ แบบใช้เท้าเหยียบ จำนวน 3 ชุด เพื่อใช้ในการคัดกรองประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมที่มีการรวมตัวกัน และมีที่ตั้งแอลกอฮอล์ล้างมือที่สะดวกในการใช้งาน เพื่อความปลอดภัยของผู้คัดกรองและประชาชนที่มาร่วมงาน เป็นการเว้นระยะห่างในการคัดกรองด้วย และประชาชนที่มาร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ได้มีวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ได้ และในเดือนพฤษภาคม 2564 เกิดการระบาดระลอกใหม่ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้ขยายขอบเขตการแพร่โรคออกเป็นวงกว้างกระจายไปในหลายเขตพื้นที่ และจากการตรวจพบผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อรายใหม่ โดยเฉพาะกรณีที่เป็นการติดเชื้อ ภายในประเทศมีจำนวนเพิ่มสูงขึ้นในแต่ละวัน ประกอบกับมีการเดินทางของบุคคลจากเขตพื้นที่สถานการณ์ที่กำหนดให้เป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด ซึ่งโดยส่วนใหญ่ไม่ปรากฏอาการของโรคแพร่ออกไปในลักษณะที่ เป็นกลุ่มก้อน นอกจากนี้ยังพบว่ามีผู้ติดเชื้อบางส่วนปกปิดข้อมูลการเดินทางทำให้ขั้นตอนการสอบสวนโรคล่าช้าและเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องจนเป็นผลให้เกิดการแพร่ระบาดในวงกว้าง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จึงต้องมีการจัดตั้งด่านตรวจ จุดตรวจ จุดสกัดเพื่อคัดกรองและค้นหาเชิงรุกเพื่อป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID - ๑๙)

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดต่อหรือภัยพิบัติในพื้นที่เทศบาลตำบลคลองขุด
ตัวชี้วัด : สามารถลดปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นและบรรเทาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดต่อหรือภัยพิบัติในพื้นที่เทศบาลตำบลคลองขุด ร้อยละ 50
10.00 50.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 19000 19000
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 19,000 19,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดต่อหรือภัยพิบัติในพื้นที่เทศบาลตำบลคลองขุด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การให้ความรู้ การรณรงค์ประชาสัมพันธ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการ ควบคุม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่เทศบาลตำบล คลองขุด ปีงบประมาณ พ.ศ.2564

รหัสโครงการ 64-L5300-5-1 รหัสสัญญา 2/2564 ระยะเวลาโครงการ 12 พฤศจิกายน 2563 - 30 กันยายน 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

มีการแนะนำการใช้หน้ากากผ้าหรือหน้ากากาอนามัยเมื่ออกนอกบ้าน การตัดเย็บหน้ากากผ้าใช้เอง การใช้แอลกอฮอล์ล้างมือบ่อย ๆ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

มีการจัดทำแอลกอฮลล์ล้างมือ 85% และทำหน้ากากผ้า

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

ให้ชุมชนมีการรวมกลุ่มกันช่วยกันตัดเย็บหน้ากากผ้า แจกจ่ายกลุ่มเสี่ยงในชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

แนะนำให้ประชาชน ดุแลสุขอนามัยส่วนบุคคล โดยการเว้นระยะห่าง 1-2 เมตร ใส่หน้ากากอนามัย/ผ้า ตลอดเวลาที่ออกจากบ้าน ล้างมือด้วยแอลกอฮอล์ล้างมือ หรือสบู่ล้างมือบ่อย ๆ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

ให้มีการบริโภคอาหารที่ปรุงสุกใหม่ๆ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

ให้มีการออกกำลังกายเป็นประจำ อย่างน้อย สัปดาห์ละ 3 วัน ครั้งละไม่น้อยกว่า 30 นาที

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

ให้ทุกคนในครอบครัวสวมใส่หน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยทุกครั้งที่ออกจากบ้าน เว้นระยะห่างทางสังคม 1-2 เมตร ใช้แอลกอฮอล์ล้างมือ หรือสบู่ล้างมือบ่อย ๆ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

มีการประสานงานกับกลุ่ม ชมรมต่าง ๆ ในการช่วยกันตัดเย็บหน้ากากผ้า และแจกจ่ายให้ประชาชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

การใช้ทรัพยากรจากพนักงานเทศบาลในการช่วยกันตัดผ้า และส่งให้ชุมชนช่วยเย็บ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการ ควบคุม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่เทศบาลตำบล คลองขุด ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5300-5-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเกศวรางค์ สารบัญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด