กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริม คุ้มครอง ผู้บริโภคและอาหารปลอดภัย
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านดอนทราย
วันที่อนุมัติ 1 พฤษภาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2564 - 31 กรกฎาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 12,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลวิสัยใต้ อำเภอสวี จังหวัดชุมพร
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสิ่งเสพติด , แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เนื่องจากในพื้นที่ความรับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านดอนทราย มีร้านค้าที่จำหน่ายอาหารทั้งอาหารปรุงสำเร็จ และผู้สัมผัสอาหารหลายร้าน และประชาชนส่วนใหญ่นิยมซื้ออาหารดังกล่าวบริโภค แทนการปรุงเองในครัวเรือน โดยเฉพาะกลุ่มเยาวชน และกลุ่มวัยทำงาน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มผู้ประกอบการ และร้านชำที่ผ่านการอบรม และส่งเสริมความรู้

ผู้ประกอบการ และร้านชำ อย่างน้อยร้อยละ 90 ผ่านหลักสูตรการอบรม

70.00 90.00
2 ร้านค้าและร้านชำ ได้รับการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ หรือร้านอาหารสุขภาพ และตรวจหาสารครบทุกร้าน

ร้านทุกร้านในพื้นที่ได้รับการตรวจครบ 100 %

70.00 100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 12,600.00 0 0.00
1 - 31 พ.ค. 64 อบรมให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหาร อาหารปลอดภัย 0 12,600.00 -
1 มิ.ย. 64 - 31 ก.ค. 64 ตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพ และตรวจหาสารตกค้าง 0 0.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้ประกอบการ ร้านค้า ร้านชำ ได้รับความรู้ และผ่านการอบรมตามหลักสูตรสุขภิบาลอาหารอย่างน้อยร้อยละ 90
  2. ประชนชนผู้บริโภคได้รับประทานอาหารที่ดี และปลอดภัย
  3. ผู้ประกอบการ ร้านค้า ร้านชำ ได้รับการตรวจหาสารตกค้าง และได้รับคำแนะนำในด้านการสุขาภิบาลด้านอาหาร
  4. ได้ข้อมูลด้านสุขาภิบาลอาหาร เป็นข้อมูลในการจัดทำแแผนงานโครงการในปีต่อไป
  5. มีทีมงานในการเฝ้าระวังและตรวจติดตาม
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 17 พ.ย. 2563 00:00 น.