กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ เจาะเลือดค้นหาผู้ป่วยมาลาเรีย (02-05)
รหัสโครงการ 64-l4123-02-05
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อสม.รพ.สต.บ้านสายตาเอียด
วันที่อนุมัติ 17 พฤศจิกายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤศจิกายน 2563 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ธันวาคม 2564
งบประมาณ 49,315.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางมูเนาะ กาแลซา
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 200 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคมาลาเรียพบมากในเขตพื้นที่มีอุณหภูมิเหมาะสมที่ทาให้เชื้อแบ่งตัวได้แก่ เขตร้อนแต่การกระจายของเชื้อโรคอาจจะมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากโลกมีอุณหภูมิเพิ่มมากขึ้น และการเคลื่อนย้ายของประชากร สาหรับประเทศไทยจะพบเชื้อได้ทั่วไป ยกเว้น กรุงเทพฯ เชื้อมีมากในป่าเขาในจังหวัดตามแนวชายแดนของประเทศไทยพบว่ามีเชื้อ พี.ฟาลซิปารัม (P.falciparum) 70%พี.ไวแวกซ์ (P.vivax) 50% ตัวพาหะที่นาโรคมาลาเรียคือยุงก้นปล่อง (ตัวเมีย) ซึ่งเรียกอย่างนี้เพราะว่าเวลาที่ยุงกัดคน มันจะเกาะโดยยกก้นขึ้นทามุม กับผิวหนัง 45 องศา ชอบวางไข่ในลาธาร น้าใสไหลเอื่อยๆ หลังจากกัดคน แล้วจะเกาะที่ฝาบ้าน แต่ในปัจจุบันมีการปรับตัวคือหลังจาก กัดคนแล้วจะไม่เกาะฝาบ้านและจะกัดคนนอกบ้านมากขึ้น โดยเฉพาะตอนหัวค่ำ
ไข้มาลาเรียยังคงเป็นปัญหาของหมู่บ้าน บ้านตาเอียด บ้านเขาน้ำตก และบ้านลาตอสูแก เนื่องจากสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติส่วนใหญ่เป็นป่าเขา และประชาชน ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเกี่ยวข้องกับป่าเป็นส่วนใหญ่และมีการป้องกันตนเองไม่ดีเท่าที่ควร จึงทาให้เสี่ยงต่อการระบาดการระบาดของ โรคมาลาเรีย
การเจาะเลือดหาเชื้อมาลาเรียค้นหาผู้ป่วยรายใหม่เพื่อที่จะให้ได้รับการรักษาทันที จึงเป็นวิธีที่สามารถป้องกันการแพร่ระบาดใน พื้นที่ได้เป็นอย่างดี

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1.เพื่อให้ประชาชนพื้นที่กลุ่มเป้าหมายมีการป้องกันตนเอง จากไข้มาลาเรียที่ถูกต้อง

ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความตระหนักในการป้องกันตนเอง
และครอบครัวส่งผลให้อัตราป่วยด้วยโรคมาลาเรียลดลง

80.00
2 ข้อที่ 2.เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่โดยการเจาะเลือดหาเชื้อ มาลาเรียเพื่อจะรับการรักษาทันที

ผู้ป่วยรายใหม่ที่ยังไม่แสดงอาการสามารถได้รับการรักษาได้
ทันทีส่งผลให้ลดการระบาดของโรคมาลาเรียในพื้นที่

75.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 49,315.00 0 0.00
1 ม.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 big cleaning day เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 9 ครั้ง 0 20,195.00 -
10 มี.ค. 64 กิจกรรมจัดประชุม และอบรม อสม. เรื่อง การ เจาะเลือดหาเชื้อ มาลาเรีย 0 8,790.00 -
1 พ.ค. 64 - 31 ก.ค. 64 ลงพื้นที่เจาะเลือดค้นหา ผู้ป่วยมาลาเรียรายใหม่ 0 20,330.00 -

วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด)
1. จัดประชุมอบรม อสม. และวางแผนในการลงพื้นที่
2. จัดซื้ออุปกรณ์ในการเจาะเลือดหาเชื้อมาลาเรียโรคมาลาเรีย
3. เจาะเลือดค้นหาเชื้อมาลาเรียโดย อสม.ผู้เชี่ยวชาญการเจาะเลือดร่วมกับอสม.ในพื้นที่เขตรับผิดชอบ
4. อสม.ดำเนินกิจกรรมป้องกันการระบาดของโรคและให้สุขศึกษากับชาวบ้านในกลุ่มบ้านเป้าหมาย
5. สรุปผลการดาเนินงานโครงการจัดส่งรายงานผลการดาเนินโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความตระหนักในการป้องกันตนเองและครอบครัวส่งผลให้ลดการระบาดของโรคมาลาเรีย2. มีการควบคุมป้องกันไข้มาลาเรีย ส่งผลให้ลดการแพร่กระจายของโรคในทุกพื้นที่ 3. ประชาชนมีความรู้และเข้าใจในการป้องกันโรคมาลาเรีย
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 พ.ย. 2563 13:51 น.