กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังระวังป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก
รหัสโครงการ 64-L1461-01-18
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านมดตะนอย
วันที่อนุมัติ 16 พฤศจิกายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ธันวาคม 2563 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2564
งบประมาณ 44,250.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสมโชค สกุลส่องบุญศิริ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเกาะลิบง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.303,99.394place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ , แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. มีบ้านต้นแบบ บ้านเครือข่ายป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก 2. เสริมสร้างให้ชุมมชนให้มีศักยภาพพัฒนาชุมชนเองดดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

ขั้นเตรียมการ 1. รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อวางแผนการจัดโครงการ 2. จัดทำโครงการเพื่อเสนออนุมัติ 3. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ต่างๆที่ใช้ในการจัดโครงการ ขั้นดำเนินการ แบ่งออกเป้น 2 ระยะ ระยะก่อนเกิดโรค 1. พูดคุย สะท้อนปัญหา และทำข้อตกลงกลุ่มเป้าหมายเครื่อข่ายหรือบ้านต้นแบบ 2. สร้างความรู้ความเข้าใจครัวเรือนตัวแทน แกนนำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข ในพื้นที่เป้าหมาย จำนวน 100 คน 3. จัดแบ่งโซนในการติดตามให้คำแนะนำ สร้างกำลังใจให้กับบ้านเข้าร่วมเป็นบ้านเครื่อข่ายจำนวน 50 หลัง   3.1 บ้านเครื่อข่ายมีบทบาทสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายบ้านตนเอง   3.2 บ้านเครื่อข่ายสามารถเป็นแบบอย่างครัวเรือนอื่นๆในชุมชนได้   3.3 บ้านเครือข่ายต้องมี Hl Cl น้อยกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 4. ติดตามประเมินผลบ้านเข้าร่วมเป็นบ้านเครื่อข่าย 5. จัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันยุงลายในชุมชน 6. ถอบทเรียนหลังดำเนินโครงการเสร็จสิ้น ระยะกลังเกิดโรค 1. ควบคุมและกำจัดยุงลายตัวเต็มวัยที่มีเชื้อโรคไข้เลือดออกโดยใช้สเปรยกำจัดยุง ฉีดพ่นในบ้านทันทีและ ฉีดพ่นในบ้านทันทีและฉีดพ่นซ้ำอีกครั้ง เพื่อการควบคุมยุงลายที่มีเชื้อไข้เลือดออกให้น้อยที่สุด 2. สนับสนุนให้ชุมชนมีการควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยเน้นวิธีทางกายภาพ ทางชีวภาพ มากกว่าการใช้สารเคมี 3. อสม. สามารถใช้แผ่นที่ทางระบาดวิทยาเพื่อค้นหาจุดเสี่ยงและการกระจายของโรคไข้เลือดออกหลังเกิดการระบาดหรือเฝ้าระวังทางระบาด 4. อสม.สามารถลงสอบสวนโรคเบื้องต้นและให้คำแนะนำการควบคุมโรคไข้เลือดออกพร้อมกับเจ้าหน้าที่ได้ 5. อสม. สามารถหาค่า Hl Cl ได้อย่างถูกต้อง 6. สามารถรับรู้สถานะของครอบครัวได้ ขั้นประเมินผล ประเมินผลการดำเนินงานหลังปฎิบัติในแต่ละกิจกรรม

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เกิดเครื่อข่ายป้องกันการเกิดไข้เลือดออกและบ้านเครื่อข่ายสามารถรับรู้ ตระหนัก เข้าใจ และการจัดการลูกน้ำยุงลายได้สามารถเป้นต้นแบบการป้องกันโรคไข้เลือดออก

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 25 พ.ย. 2563 09:31 น.