กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการไข้เลือดออกป้องกันได้ ต้องช่วยกันทุกครัวเรือน
รหัสโครงการ 60-L5177-02-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อสม.รพ.สต.แค
วันที่อนุมัติ 9 กุมภาพันธ์ 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2560 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 83,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอามีดีนสาขาหรี
พี่เลี้ยงโครงการ นายอะหมัดหลีขาหรี
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลแค อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.853,100.618place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 4000 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วย อสม.ม.5 ตำบลแค และแกนนำสุขภาพประจำรพ.สต.แค และ อสม.ในตำบลแค ได้มีความประสงค์จะดำเนินการจัดทำโครงการไข้เลือดออกป้องกันได้ ต้องช่วยกันทุกครัวเรือน ในปีงบประมาณ พ.ศ.2560 เพื่อดำเนินการต่อเนื่องในหมู่บ้าน ซึ่งในปีที่ผ่านมาพื้นที่ตำบลแค มีผู้ป่วยจำนวน 32 คนแยกเป็น ม. จำนวน 8 คน ม.2 จำนวน 4 คน ม.3จำนวน 4 คน ม.4 จำนวน 1 คน ม.5 จำนวน 6 คน ม.6 จำนวน6 คน ม.7 จำนวน 2 คน ซึ่งถือได้ว่ามีเป็นจำนวนมากกว่าทุกๆปีที่ผ่านมา ดังนั้นทางอสม.ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการป้องกันโรค เพื่อเป็นการเตรียมพร้อมก่อนการระบาดของโรค จึงจัดทำโครงการเพื่อรับการสนับสนุนงบประมาณจาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.แค

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อลดค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลาย(HI) ไม่เกิน ร้อยละ 10 2.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและมีพฤติกรรมในการป้องกันโรคไข้เลือดออกได้อย่างถูกต้อง 3.เพื้อให้ทุกครัวเรือนมีส่วนร่วมในการป้องกันโรคไข้เลือดออก 4.เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก

1.ค่าดัชนีความชุกของลูกน้ำยุงลาย(HI) น้อยกว่าร้อยละ 10 2.ประชาชนร้อยละ 90 มีความรู้ความเข้าใจและสามารถป้องกันโรคไข้เลือดออกได้ 3.ร้อยละ 90 ของครัวเรือนมีส่วนร่วมในการป้องกันโรคไข้เลือดออก 4.ลดอัตราป่วยด้วยไข้เลือดออก

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.จัดทำเวทีประชาคมร่วมกับผู้นำชุมชน อบต. ,อสม. และแกนนำสุขภาพประจำครอบครัวเพื่อระดมความคิดเห็นวิธีการป้องกันโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้านทั้ง 7 หมู่บ้าน 2.จัดทำโครงการเสนอขอรับงบประมาณ สนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.แค
4.สำรวจข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในการป้องกันไข้เลือดออก 5.จัดซื้อเครื่องพ่นหมอกควันพร้อมอุปกรณ์ในการป้องกันอันตรายจากสารเคมี 6.อสม.สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายเพื่อหาค่าดัชนีความชุกยุงลาย (HI) ทุกเดือน 7.ส่งเสริมให้ประชาชนเลี้ยงปลากินลูกน้ำยุงลาย 8.ดำเนินการพ่นหมอกควันในโรงเรียนช่วงก่อนเปิดเทอม 9.ดำเนินการพ่นหมอกควันในรัศมี 100 เมตร จากบ้านที่พบผู้ป่วยไข้เลือดออกและครอบคลุมทุกหลังคาเรือน 10.ติดตาม ประเมินผล และเฝ้าระวังพฤติกรรมในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
13.ประเมินผลโครงการและรายงานผลการดำเนินงาน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีการตื่นตัวและตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก 2.ประชาชนร่วมมือและมีพฤติกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่องและสมำเสมอทำให้ค่าดัชนีความชุกของลูกน้ำยุงลายลดลง 3.อัตราป่วยและอัตรตายด้วยโรคไข้เลือดออกอยู่ในระดับที่ไม่เป็นปัญหาทางสาธารณสุข

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 23 มิ.ย. 2560 08:56 น.